2อาการของโลคเอดส์

2 อาการของโลคเอดส์


อาการติดเชื้อเอดส์แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังน
ี้

ระยะที่ 1

          ระยะไม่ปรากฎอาการ (Asymptomatic stage) หรือระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ ในระยะนี้ ผู้ติดเชื้อจะไม่แสดงอาการผิดปกติใดๆ ออกมา จึงดูเหมือนคนมีสุขภาพแข็งแรง เหมือนคนปกติ แต่อาจ จะเจ็บป่วยเล็ก ๆ น้อย ๆ จากระยะแรกเข้าสู่ระยะต่อไปโดยเฉลี่ยใช้เวลาประมาณ 7-8 ปี แต่บางคน อาจไม่มีอาการนานถึง 10 ปี จึงทำให้ผู้ติดเชื้อสามารถแพร่เชื้อต่อไปให้กับบุคคลอื่นได้ เนื่องจาก ส่วนใหญ่ไม่ทราบว่าตนเองติดเชื้อ

ระยะที่ 2
                     
          ระยะมีอาการสัมพันธ์กับเอดส์ (Aids Related Complex หรือ ARC) หรือระยะเริ่มปรากฎอาการ (Symptomatic HIV Infection) ในระยะนี้จะตรวจพบผลเลือดบวก และมีอาการผิดปกติเกิดขึ้นในเห็น เช่น ต่อมน้ำเหลืองโตหลายแห่งติดต่อกันนานกว่า 3 เดือน , มีเชื้อราในปากบริเวณกระพุ้งแก้ม และ เพดานปาก, เป็นงูสวัด หรือแผลเริมชนิดลุกลาม และมีอาการเรื้อรังนานเกิน 1 เดือน โดยไม่ทราบสาเหตุ เช่น มีไข้ ท้องเสีย ผิวหนังอักเสบ น้ำหนักลด เป็นต้น ระยะนี้อาจเป็นอยู่นานเป็นปีก่อนจะกลายเป็น เอดส์ระยะเต็มขึ้นต่อไป

ระยะที่ 3
         
          ระยะเอดส์เต็มขั้น (Full Blown AIDS) หรือ ระยะโรคเอดส์ ในระยะนี้ภูมิคุ้มกันของ ร่างกาย จะถูกทำลายลงไปมาก ทำให้เป็นโรคต่าง ๆ ได้ง่าย หรือที่เรียกว่า "โรคติดเชื้อฉวยโอกาส" ซึ่งมีหลาย ชนิด แล้วแต่ว่าจะติดเชื้อชนิดใด และเกิดที่ส่วนใดของ ร่างกาย หากเป็นวัณโรคที่ปอดจะมีอาการไข้ เรื้อรัง ไอเป็นเลือด ถ้าเป็นเยื่อหุ้มสมอง อักเสบจากเชื้อ Cryptococcus จะมีอาการปวดศรีษะอย่างรุนแรง คอแข็ง คลื่นไส้อาเจียน หากเป็นโรคเอดส์ ของระบบประสาทก็จะมีอาการความจำเสื่อม ซึมเศร้า แขนขา อ่อนแรงเป็นต้น ส่วนใหญ่เมื่อผู้ เป็นเอดส์ เข้าสู่ระยะสุดท้ายนี้แล้วโดยทั่วไปจะมีชีวิตอยู่ได้เพียง 1-2 ปี

          
     โรคเอดส์สามารถป้องกันได้ถ้ามีความระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการมีพฤติกรรมเสี่ยง ซึ่ง พฤติกรรม เสี่ยงนั้นเกิดขึ้น ได้ทั้งในเพศชายและเพศหญิง โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่เอื้อ ต่อการมีเพศสัมพันธ์ ซึ่งวิธีที่จะป้องกันให้ปลอดภัย จากการติดเชื้อเอชไอวี มีหลายวิธีเช่น การไม่มีเพศสัมพันธ์ จนกว่าจะสามารถรับผิดชอบผลจากการมีเพศสัมพันธุ์ได้ ควรละเว้นการใช ้สารเสพติดทุกชนิด
         
      โรคเอดส์มิได้ติดต่อกันได้ง่าย ๆ จากการใช้ชีวิตประจำวันร่วมกันแต่ติดต่อจากพฤติกรรม หรือการกระทำ บางอย่าง ไม่ควรตื่นตระหนกจนเกินไปสามารถป้องกันได้ ถ้ามีความระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการมีพฤติกรรมเสี่ยง พฤติกรรมวิธีที่จะป้องกันให้ปลอดภัย จากการติดเชื้อเอชไอวี ดังต่อไปนี้
         
           ไม่มีเพศสัมพันธ์จนกว่าจะสามารถรับผิดชอบผลจากการมีเพศสัมพันธ์ได้ เช่น ปัญหา ครอบครัว ปัญหาทาง เศรษฐกิจและสังคม การตั้งครรภ์เมื่อยังไม่พร้อม การติดเชื้อ โรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
           ควรละเว้นการใช้สารเสพติดทุกชนิด รวมทั้ง เหล้าและเครื่องดื่มที่มีอัลกอฮอล์ เพราะ อาจนำไปสู่การขาดสติ ไม่สามารถป้องกันตัวได้อย่างถูกต้อง
           ควรศึกษาข้อมูลความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ และวิธีป้องกันจนเข้าใจ และสามารถนำไป ปฏิบัติได้จริง
           หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์แบบฉายฉวย ไม่ควรมีคู่นอนหลายคน
           เมื่อมีเพศสัมพันธ์กับบุคคลที่มิใช่สามีภรรยาต้องใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้ง
           หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก เพราะมีโอกาสเสี่ยงในการติดเชื้อ เอชไอวี สูงกว่าทางช่องคลอด เนื่องจากฉีกขาดได้ง่ายและรับเชื้อได้มากกว่า หากเป็นการมีเพศสัมพันธ์ ระหว่างชายกับชายควรใช้ถุงยาง อนามัยทุกครั้ง
           ต้องมีการตรวจสุขภาพและตรวจเลือดก่อนแต่ง/ก่อนท้อง ในกรณีที่ตัดสินใจจะมี ครอบครัว เพื่อจะได้ทราบสถานะสุขภาพ ของตนเองและคู่รักก่อนมีเพศสัมพันธ์รวมทั้งเพื่อ ประกันความปลอดภัยของทารกที่จะเกิดใหม่ด้วย
           หลีกเลี่ยงการใช้เข็มฉีดยา กระบอกฉีดยาและของมีคมร่วมกัน
           การมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย เช่น การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง การกอดรัด การ เสียดสี ร่างกายซึ่งกันและกัน การจูบเป็นต้น
           การใช้ถุงยางอนามัยในการร่วมเพศทุกรูปแบบ เช่น ร่วมเพศด้วยปาก ทางช่องคลอด หรือทางทวารหนัก
           การใช้ถุงยางอนามัยที่ถูกวิธี เช่น การใช้ถุงยางอนามัยที่มีเครื่องหมายรับรองคุณภาพ การใช้ถุงยางอนามัย ที่ไม่หมดอายุ การเก็บรักษาที่ถูกต้อง การสวมใส่อย่างถูกวิธี
           การพูดคุยเรื่องเอดส์และเพศระหว่างบุคคลในครอบครัว จะสามารถช่วยลดความเข้าใจผิด ๆ ในเรื่องเพศ และให้แนวทางที่ถูกต้องในการป้องกัน
           หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ เมื่อแต่ละคนมีแผลที่อวัยวะเพศหรือเป็นโรคทางเพศ สัมพันธ์
           งดเว้นการ่วมเพศอย่างรุนแรง หรือการทำร้ายร่างกายจนเกิดบาดแผล เลือดตก ยางออก
           หลีกเลี่ยงการใช้ปากกับอวัยวะเพศ เมื่อมีแผลในปากหรืออวัยวะเพศ
           ควรมีการสร้างทัศนคติให้ผู้ชายมีบทบาทรับผิดชอบในการป้องกันดรคไม่ให้เข้าสู่ บุคคล หรือสมาชิกในครอบครัว


การรักษา

                 การดูแลรักษาผู้ที่ติดเชื้อ และผู้ป่วยโรคเอดส์ ประกอบด้วยวิธีการรักษาที่มีจุดประสงค์ และ เทคโนโลยี แตกต่างกันดังนี้
           การดูแลสุขภาพด้วยวิธีการทางการแพทย์แผนปัจจุบัน ยาที่ใช้ในการรักษาผู้ติดเชื้อ หรือ ผู้ป่วยเอดส์มี 2 ลักษณะ คือ (กองโรคเอดส์.  2547)  ยาต้านไวรัสเอดส์ หมายถึง ยาที่สังเคราะห์ ขึ้นมาเพื่อหยุดยั้งหรือออกฤทธิ์ต้านการแบ่งตัว การยับยั้งการเกาะจับและเข้าเซลล์ (Interference  With  Attachment  and Entry)
           ยาต้านไวรัสเอดส์ที่มีใช้ทางคลินิกในปัจจุบัน (Current  Antiretroviral  Drug in Clinical Use) ในปัจจุบัน ยาต้านไวรัสเอดส์ที่ได้รับการ จดทะเบียนโดย USFDA มีทั้งหมด 11 ชนิด ประกอบด้วยยา 3 กลุ่ม คือ
           กลุ่ม Nucleoside Analongues Reverse Transcriptase Inhibitors :: ได้แก่ AZT , ddC , ddI , d4T , 3TC เป็นยาที่สร้างด้วยการทดแทน หรือเปลี่ยนแปลง Side  Chain ของ Nucleosides (Thymidine, Adenosine, Cytidine) การออกฤทธิ์ของยากลุ่มนี้ ต้องผ่านขบวนการ Phosphorylation ภายในเซลล์ให้กลายเป็น mono-, di-, และ Triphosphate  Compound ในที่สุดจึงจะออกฤทธิ์ได้ กลไกการออกฤทธิ์ ที่สำคัญ คือ การแย่ง จับกับ HIV-RT (Inhibitory Competitor) และการหยุดยั้งการเรียงต่อ ของลำดับเบสของDNA (Chain Terminator) ในกรณีที่ใช้ยากลุ่มนี้เป็นยาเดี่ยวในการรักษา (Monotherapy) จะสามารถลดจำนวนเชื้อในพลาสมาลงได้เพียง 0.3-0.7 log10 หรือ น้อยกว่า 10 เท่า ยกตัวอย่างเช่น หากผู้ป่วยมีเชื้อ 100,000 ตัวต่อลบ.ซม.การรักษาด้วยnucleoside RTI Monontherapy (เช่น AZT หรือ ddI) ณ ประสิทธิภาพสูงสุดของยา ผู้ป่วยรายนี้ก็ยังคง มีจำนวนเชื้ออยู่ใน ระดับ ที่มากกว่า 10,000 ตัวต่อลบ.ซม. และประกอบกับปัญหาการดื้อยา ที่จะเกิดขึ้นในที่สุด จึงไม่สามารถ ลดอัตราการเกิดเอดส์และอัตราตายได้
           กลุ่ม Nonnucleoside Reverse Transcriptase Inhibitors (NNRTIs)      ได้แก่ Nevirapine, Efaviren ยาในกลุ่ม Nonnucleoside Reverse Transcriptase Inhibitors หรือ NNRTIs นี้เป็นยาที่มีโครงสร้าง และสูตรทางเคมีที่แตกต่างกันแต่มีฤทธิ์แรง (Potent) ในการยับยั้งอย่างจำเพาะต่อ Revers Transcriptase (RT) ของ HIV-1 เท่านั้น ไม่มีผลยับยั้ง เอนไซม์ของ HIV-2 Hepatitis, Herpes virus และเอนไซม์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมแต่อย่างใด และกลไกการออกฤทธิ์แตกต่างจากยาในกลุ่ม Nucleoside Analogue RT Inhibitors (NRTIs) หลายประการ เช่น NNRTIs เป็น Active Compounds ที่ออกฤทธิ์ได้เลยโดยไม่ต้องผ่านขบวน การ Phosphorylation หรือ Metabolism อื่นใดอีก การออกฤทธิ์ของ NNRTIs เป็นแบบ noncompetitive คือไม่มีการแย่งจับแข่งกับ Native Nucleotidesแต่เป็นการจับHIV-1 RT ตรงบริเวณล่างลงมา (Downsteam) จาก catalytic site ยาในกลุ่ม NNRTIs นี้จะถูก metabolize เกือบทั้งสิ้นที่ตับ ข้อดีของยาในกลุ่ม NNRTIs ส่วนใหญ่มีฤทธิ์ยาว สามารถ รับประทานเพียงวันละ 1-2 ครั้งได้เป็นการง่าย (Favorable  Adherence) แต่ข้อเสียคือเกิดการ ดื้อยารวดเร็วมากโดยเฉพาะเมื่อใช้เดี่ยว ๆ หรือร่วมกับยาในสูตรที่อ่อน หรือล้มเหลวในการรักษา มาก่อน และเมื่อเกิดเชื้อดื้อยาจะเกิดการดื้อต่อยาอื่น ๆ ในกลุ่มนี้ด้วย ทั้งนี้เนื่องจากยาในกลุ่มนี้ มีสูตรโครงสร้างทางเคมีที่แตกต่างกันจริงแต่ตำแหน่งที่จับ (Binding   Pocket) กับเอนไซม์ RTเป็นตำแหน่งเดียวกันหมดนั่นเอง ความน่าสนใจของกลุ่มนี้ นอกจากจะใช้เป็นยาตัวหนึ่ง ในสูตรยาร่วม 3 ชนิด (Triple Herapy) โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่ยังไม่มีอาการมาก (Not Advanced) (เพื่อเก็บ Protease Inhibitors ไว้ใช้ทีหลัง) แล้ว ยา NNRTIs กลุ่มนี้ เช่น Nevirapine และ DMP-226 ยานี้อาจมีประโยชน์ในสูตรรักษาแบบระยะสั้น (Short course) ในการป้องกันการติดเชื้อ HIV จากแม่ไปสู่ลูกได้ซึ่งต้องรอผลการศึกษาที่กำลังดำเนินในต่าง ประเทศต่อไป
           กลุ่ม HIV-1 Protease Inhibitors : ได้แก่ Saquinavir (Hard Capsule, Soft Gel Capsule), Indinavir, Ritonavir และ Nelfinavir HIV-1 Protease เป็น Enzyme ของเชื้อ HIV-1 ซึ่งประกอบด้วยโปรตีน 2 สายที่เหมือนกัน (Symmetrical   Isomer)  คือ  กรดอะมิโน (Amino Acids) 99 ตัว มีหน้าที่สำคัญ เกี่ยวกับการตัดย่อย Gag-Pol  Polypeptide Precursor เพื่อทำให้ Immature HIV-1 กลายเป็น Mature  Infectious ภายหลังการประกอบรูปร่างไวรัส แล้ว หลายปีที่ผ่านมาจึงมีการพยายามคิดค้นยาเพื่อยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อ HIV โดยออกฤทธิ์ ยับยั้ง HIV-1 Protease เรียกยากลุ่มนี้ว่า Protease Inhibitors (PI) ทั้งโดยอาศัยความรู้ เกี่ยวกับโครงสร้าง 3 มิติ (3-Dimensional Tructure) ของ HIV-1 Protease และการออกแบบ โครงสร้าง Inhibitor ด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ (Computer   Modeling) ทำให้มียา Protease  Inhibitors เกิดขึ้นหลายตัว อย่างไรก็ตามยารุ่นแรก ๆ ส่วนใหญ่เป็น Petide-Based Compounds ทำให้มีปัญหาเรื่องการดูดซึม (Oral Absorption), Rapid Biliary Clearance, Poor Stability และค่าใช้จ่ายสูงในการผลิต ปัจจุบันยา Protease Inhibitors รุ่นที่ 2 (second-generation) จะเน้นโครงสร้างเป็น Partially Peptidic หรือ Nonpeptidic  ทั้งนี้เพื่อเพิ่ม การดูดซึม  (Bioavailability)   นั่นเอง


อาการติดเชื้อเอดส์แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังน
ี้

ระยะที่ 1

          ระยะไม่ปรากฎอาการ (Asymptomatic stage) หรือระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ ในระยะนี้ ผู้ติดเชื้อจะไม่แสดงอาการผิดปกติใดๆ ออกมา จึงดูเหมือนคนมีสุขภาพแข็งแรง เหมือนคนปกติ แต่อาจ จะเจ็บป่วยเล็ก ๆ น้อย ๆ จากระยะแรกเข้าสู่ระยะต่อไปโดยเฉลี่ยใช้เวลาประมาณ 7-8 ปี แต่บางคน อาจไม่มีอาการนานถึง 10 ปี จึงทำให้ผู้ติดเชื้อสามารถแพร่เชื้อต่อไปให้กับบุคคลอื่นได้ เนื่องจาก ส่วนใหญ่ไม่ทราบว่าตนเองติดเชื้อ

ระยะที่ 2
                     
          ระยะมีอาการสัมพันธ์กับเอดส์ (Aids Related Complex หรือ ARC) หรือระยะเริ่มปรากฎอาการ (Symptomatic HIV Infection) ในระยะนี้จะตรวจพบผลเลือดบวก และมีอาการผิดปกติเกิดขึ้นในเห็น เช่น ต่อมน้ำเหลืองโตหลายแห่งติดต่อกันนานกว่า 3 เดือน , มีเชื้อราในปากบริเวณกระพุ้งแก้ม และ เพดานปาก, เป็นงูสวัด หรือแผลเริมชนิดลุกลาม และมีอาการเรื้อรังนานเกิน 1 เดือน โดยไม่ทราบสาเหตุ เช่น มีไข้ ท้องเสีย ผิวหนังอักเสบ น้ำหนักลด เป็นต้น ระยะนี้อาจเป็นอยู่นานเป็นปีก่อนจะกลายเป็น เอดส์ระยะเต็มขึ้นต่อไป

ระยะที่ 3
         
          ระยะเอดส์เต็มขั้น (Full Blown AIDS) หรือ ระยะโรคเอดส์ ในระยะนี้ภูมิคุ้มกันของ ร่างกาย จะถูกทำลายลงไปมาก ทำให้เป็นโรคต่าง ๆ ได้ง่าย หรือที่เรียกว่า "โรคติดเชื้อฉวยโอกาส" ซึ่งมีหลาย ชนิด แล้วแต่ว่าจะติดเชื้อชนิดใด และเกิดที่ส่วนใดของ ร่างกาย หากเป็นวัณโรคที่ปอดจะมีอาการไข้ เรื้อรัง ไอเป็นเลือด ถ้าเป็นเยื่อหุ้มสมอง อักเสบจากเชื้อ Cryptococcus จะมีอาการปวดศรีษะอย่างรุนแรง คอแข็ง คลื่นไส้อาเจียน หากเป็นโรคเอดส์ ของระบบประสาทก็จะมีอาการความจำเสื่อม ซึมเศร้า แขนขา อ่อนแรงเป็นต้น ส่วนใหญ่เมื่อผู้ เป็นเอดส์ เข้าสู่ระยะสุดท้ายนี้แล้วโดยทั่วไปจะมีชีวิตอยู่ได้เพียง 1-2 ปี

          
     โรคเอดส์สามารถป้องกันได้ถ้ามีความระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการมีพฤติกรรมเสี่ยง ซึ่ง พฤติกรรม เสี่ยงนั้นเกิดขึ้น ได้ทั้งในเพศชายและเพศหญิง โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่เอื้อ ต่อการมีเพศสัมพันธ์ ซึ่งวิธีที่จะป้องกันให้ปลอดภัย จากการติดเชื้อเอชไอวี มีหลายวิธีเช่น การไม่มีเพศสัมพันธ์ จนกว่าจะสามารถรับผิดชอบผลจากการมีเพศสัมพันธุ์ได้ ควรละเว้นการใช ้สารเสพติดทุกชนิด
         
      โรคเอดส์มิได้ติดต่อกันได้ง่าย ๆ จากการใช้ชีวิตประจำวันร่วมกันแต่ติดต่อจากพฤติกรรม หรือการกระทำ บางอย่าง ไม่ควรตื่นตระหนกจนเกินไปสามารถป้องกันได้ ถ้ามีความระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการมีพฤติกรรมเสี่ยง พฤติกรรมวิธีที่จะป้องกันให้ปลอดภัย จากการติดเชื้อเอชไอวี ดังต่อไปนี้
         
           ไม่มีเพศสัมพันธ์จนกว่าจะสามารถรับผิดชอบผลจากการมีเพศสัมพันธ์ได้ เช่น ปัญหา ครอบครัว ปัญหาทาง เศรษฐกิจและสังคม การตั้งครรภ์เมื่อยังไม่พร้อม การติดเชื้อ โรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
           ควรละเว้นการใช้สารเสพติดทุกชนิด รวมทั้ง เหล้าและเครื่องดื่มที่มีอัลกอฮอล์ เพราะ อาจนำไปสู่การขาดสติ ไม่สามารถป้องกันตัวได้อย่างถูกต้อง
           ควรศึกษาข้อมูลความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ และวิธีป้องกันจนเข้าใจ และสามารถนำไป ปฏิบัติได้จริง
           หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์แบบฉายฉวย ไม่ควรมีคู่นอนหลายคน
           เมื่อมีเพศสัมพันธ์กับบุคคลที่มิใช่สามีภรรยาต้องใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้ง
           หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก เพราะมีโอกาสเสี่ยงในการติดเชื้อ เอชไอวี สูงกว่าทางช่องคลอด เนื่องจากฉีกขาดได้ง่ายและรับเชื้อได้มากกว่า หากเป็นการมีเพศสัมพันธ์ ระหว่างชายกับชายควรใช้ถุงยาง อนามัยทุกครั้ง
           ต้องมีการตรวจสุขภาพและตรวจเลือดก่อนแต่ง/ก่อนท้อง ในกรณีที่ตัดสินใจจะมี ครอบครัว เพื่อจะได้ทราบสถานะสุขภาพ ของตนเองและคู่รักก่อนมีเพศสัมพันธ์รวมทั้งเพื่อ ประกันความปลอดภัยของทารกที่จะเกิดใหม่ด้วย
           หลีกเลี่ยงการใช้เข็มฉีดยา กระบอกฉีดยาและของมีคมร่วมกัน
           การมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย เช่น การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง การกอดรัด การ เสียดสี ร่างกายซึ่งกันและกัน การจูบเป็นต้น
           การใช้ถุงยางอนามัยในการร่วมเพศทุกรูปแบบ เช่น ร่วมเพศด้วยปาก ทางช่องคลอด หรือทางทวารหนัก
           การใช้ถุงยางอนามัยที่ถูกวิธี เช่น การใช้ถุงยางอนามัยที่มีเครื่องหมายรับรองคุณภาพ การใช้ถุงยางอนามัย ที่ไม่หมดอายุ การเก็บรักษาที่ถูกต้อง การสวมใส่อย่างถูกวิธี
           การพูดคุยเรื่องเอดส์และเพศระหว่างบุคคลในครอบครัว จะสามารถช่วยลดความเข้าใจผิด ๆ ในเรื่องเพศ และให้แนวทางที่ถูกต้องในการป้องกัน
           หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ เมื่อแต่ละคนมีแผลที่อวัยวะเพศหรือเป็นโรคทางเพศ สัมพันธ์
           งดเว้นการ่วมเพศอย่างรุนแรง หรือการทำร้ายร่างกายจนเกิดบาดแผล เลือดตก ยางออก
           หลีกเลี่ยงการใช้ปากกับอวัยวะเพศ เมื่อมีแผลในปากหรืออวัยวะเพศ
           ควรมีการสร้างทัศนคติให้ผู้ชายมีบทบาทรับผิดชอบในการป้องกันดรคไม่ให้เข้าสู่ บุคคล หรือสมาชิกในครอบครัว


การรักษา

                 การดูแลรักษาผู้ที่ติดเชื้อ และผู้ป่วยโรคเอดส์ ประกอบด้วยวิธีการรักษาที่มีจุดประสงค์ และ เทคโนโลยี แตกต่างกันดังนี้
           การดูแลสุขภาพด้วยวิธีการทางการแพทย์แผนปัจจุบัน ยาที่ใช้ในการรักษาผู้ติดเชื้อ หรือ ผู้ป่วยเอดส์มี 2 ลักษณะ คือ (กองโรคเอดส์.  2547)  ยาต้านไวรัสเอดส์ หมายถึง ยาที่สังเคราะห์ ขึ้นมาเพื่อหยุดยั้งหรือออกฤทธิ์ต้านการแบ่งตัว การยับยั้งการเกาะจับและเข้าเซลล์ (Interference  With  Attachment  and Entry)
           ยาต้านไวรัสเอดส์ที่มีใช้ทางคลินิกในปัจจุบัน (Current  Antiretroviral  Drug in Clinical Use) ในปัจจุบัน ยาต้านไวรัสเอดส์ที่ได้รับการ จดทะเบียนโดย USFDA มีทั้งหมด 11 ชนิด ประกอบด้วยยา 3 กลุ่ม คือ
           กลุ่ม Nucleoside Analongues Reverse Transcriptase Inhibitors :: ได้แก่ AZT , ddC , ddI , d4T , 3TC เป็นยาที่สร้างด้วยการทดแทน หรือเปลี่ยนแปลง Side  Chain ของ Nucleosides (Thymidine, Adenosine, Cytidine) การออกฤทธิ์ของยากลุ่มนี้ ต้องผ่านขบวนการ Phosphorylation ภายในเซลล์ให้กลายเป็น mono-, di-, และ Triphosphate  Compound ในที่สุดจึงจะออกฤทธิ์ได้ กลไกการออกฤทธิ์ ที่สำคัญ คือ การแย่ง จับกับ HIV-RT (Inhibitory Competitor) และการหยุดยั้งการเรียงต่อ ของลำดับเบสของDNA (Chain Terminator) ในกรณีที่ใช้ยากลุ่มนี้เป็นยาเดี่ยวในการรักษา (Monotherapy) จะสามารถลดจำนวนเชื้อในพลาสมาลงได้เพียง 0.3-0.7 log10 หรือ น้อยกว่า 10 เท่า ยกตัวอย่างเช่น หากผู้ป่วยมีเชื้อ 100,000 ตัวต่อลบ.ซม.การรักษาด้วยnucleoside RTI Monontherapy (เช่น AZT หรือ ddI) ณ ประสิทธิภาพสูงสุดของยา ผู้ป่วยรายนี้ก็ยังคง มีจำนวนเชื้ออยู่ใน ระดับ ที่มากกว่า 10,000 ตัวต่อลบ.ซม. และประกอบกับปัญหาการดื้อยา ที่จะเกิดขึ้นในที่สุด จึงไม่สามารถ ลดอัตราการเกิดเอดส์และอัตราตายได้
           กลุ่ม Nonnucleoside Reverse Transcriptase Inhibitors (NNRTIs)      ได้แก่ Nevirapine, Efaviren ยาในกลุ่ม Nonnucleoside Reverse Transcriptase Inhibitors หรือ NNRTIs นี้เป็นยาที่มีโครงสร้าง และสูตรทางเคมีที่แตกต่างกันแต่มีฤทธิ์แรง (Potent) ในการยับยั้งอย่างจำเพาะต่อ Revers Transcriptase (RT) ของ HIV-1 เท่านั้น ไม่มีผลยับยั้ง เอนไซม์ของ HIV-2 Hepatitis, Herpes virus และเอนไซม์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมแต่อย่างใด และกลไกการออกฤทธิ์แตกต่างจากยาในกลุ่ม Nucleoside Analogue RT Inhibitors (NRTIs) หลายประการ เช่น NNRTIs เป็น Active Compounds ที่ออกฤทธิ์ได้เลยโดยไม่ต้องผ่านขบวน การ Phosphorylation หรือ Metabolism อื่นใดอีก การออกฤทธิ์ของ NNRTIs เป็นแบบ noncompetitive คือไม่มีการแย่งจับแข่งกับ Native Nucleotidesแต่เป็นการจับHIV-1 RT ตรงบริเวณล่างลงมา (Downsteam) จาก catalytic site ยาในกลุ่ม NNRTIs นี้จะถูก metabolize เกือบทั้งสิ้นที่ตับ ข้อดีของยาในกลุ่ม NNRTIs ส่วนใหญ่มีฤทธิ์ยาว สามารถ รับประทานเพียงวันละ 1-2 ครั้งได้เป็นการง่าย (Favorable  Adherence) แต่ข้อเสียคือเกิดการ ดื้อยารวดเร็วมากโดยเฉพาะเมื่อใช้เดี่ยว ๆ หรือร่วมกับยาในสูตรที่อ่อน หรือล้มเหลวในการรักษา มาก่อน และเมื่อเกิดเชื้อดื้อยาจะเกิดการดื้อต่อยาอื่น ๆ ในกลุ่มนี้ด้วย ทั้งนี้เนื่องจากยาในกลุ่มนี้ มีสูตรโครงสร้างทางเคมีที่แตกต่างกันจริงแต่ตำแหน่งที่จับ (Binding   Pocket) กับเอนไซม์ RTเป็นตำแหน่งเดียวกันหมดนั่นเอง ความน่าสนใจของกลุ่มนี้ นอกจากจะใช้เป็นยาตัวหนึ่ง ในสูตรยาร่วม 3 ชนิด (Triple Herapy) โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่ยังไม่มีอาการมาก (Not Advanced) (เพื่อเก็บ Protease Inhibitors ไว้ใช้ทีหลัง) แล้ว ยา NNRTIs กลุ่มนี้ เช่น Nevirapine และ DMP-226 ยานี้อาจมีประโยชน์ในสูตรรักษาแบบระยะสั้น (Short course) ในการป้องกันการติดเชื้อ HIV จากแม่ไปสู่ลูกได้ซึ่งต้องรอผลการศึกษาที่กำลังดำเนินในต่าง ประเทศต่อไป
           กลุ่ม HIV-1 Protease Inhibitors : ได้แก่ Saquinavir (Hard Capsule, Soft Gel Capsule), Indinavir, Ritonavir และ Nelfinavir HIV-1 Protease เป็น Enzyme ของเชื้อ HIV-1 ซึ่งประกอบด้วยโปรตีน 2 สายที่เหมือนกัน (Symmetrical   Isomer)  คือ  กรดอะมิโน (Amino Acids) 99 ตัว มีหน้าที่สำคัญ เกี่ยวกับการตัดย่อย Gag-Pol  Polypeptide Precursor เพื่อทำให้ Immature HIV-1 กลายเป็น Mature  Infectious ภายหลังการประกอบรูปร่างไวรัส แล้ว หลายปีที่ผ่านมาจึงมีการพยายามคิดค้นยาเพื่อยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อ HIV โดยออกฤทธิ์ ยับยั้ง HIV-1 Protease เรียกยากลุ่มนี้ว่า Protease Inhibitors (PI) ทั้งโดยอาศัยความรู้ เกี่ยวกับโครงสร้าง 3 มิติ (3-Dimensional Tructure) ของ HIV-1 Protease และการออกแบบ โครงสร้าง Inhibitor ด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ (Computer   Modeling) ทำให้มียา Protease  Inhibitors เกิดขึ้นหลายตัว อย่างไรก็ตามยารุ่นแรก ๆ ส่วนใหญ่เป็น Petide-Based Compounds ทำให้มีปัญหาเรื่องการดูดซึม (Oral Absorption), Rapid Biliary Clearance, Poor Stability และค่าใช้จ่ายสูงในการผลิต ปัจจุบันยา Protease Inhibitors รุ่นที่ 2 (second-generation) จะเน้นโครงสร้างเป็น Partially Peptidic หรือ Nonpeptidic  ทั้งนี้เพื่อเพิ่ม การดูดซึม  (Bioavailability)   นั่นเอง


อาการติดเชื้อเอดส์แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังน
ี้

ระยะที่ 1

          ระยะไม่ปรากฎอาการ (Asymptomatic stage) หรือระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ ในระยะนี้ ผู้ติดเชื้อจะไม่แสดงอาการผิดปกติใดๆ ออกมา จึงดูเหมือนคนมีสุขภาพแข็งแรง เหมือนคนปกติ แต่อาจ จะเจ็บป่วยเล็ก ๆ น้อย ๆ จากระยะแรกเข้าสู่ระยะต่อไปโดยเฉลี่ยใช้เวลาประมาณ 7-8 ปี แต่บางคน อาจไม่มีอาการนานถึง 10 ปี จึงทำให้ผู้ติดเชื้อสามารถแพร่เชื้อต่อไปให้กับบุคคลอื่นได้ เนื่องจาก ส่วนใหญ่ไม่ทราบว่าตนเองติดเชื้อ

ระยะที่ 2
                     
          ระยะมีอาการสัมพันธ์กับเอดส์ (Aids Related Complex หรือ ARC) หรือระยะเริ่มปรากฎอาการ (Symptomatic HIV Infection) ในระยะนี้จะตรวจพบผลเลือดบวก และมีอาการผิดปกติเกิดขึ้นในเห็น เช่น ต่อมน้ำเหลืองโตหลายแห่งติดต่อกันนานกว่า 3 เดือน , มีเชื้อราในปากบริเวณกระพุ้งแก้ม และ เพดานปาก, เป็นงูสวัด หรือแผลเริมชนิดลุกลาม และมีอาการเรื้อรังนานเกิน 1 เดือน โดยไม่ทราบสาเหตุ เช่น มีไข้ ท้องเสีย ผิวหนังอักเสบ น้ำหนักลด เป็นต้น ระยะนี้อาจเป็นอยู่นานเป็นปีก่อนจะกลายเป็น เอดส์ระยะเต็มขึ้นต่อไป

ระยะที่ 3
         
          ระยะเอดส์เต็มขั้น (Full Blown AIDS) หรือ ระยะโรคเอดส์ ในระยะนี้ภูมิคุ้มกันของ ร่างกาย จะถูกทำลายลงไปมาก ทำให้เป็นโรคต่าง ๆ ได้ง่าย หรือที่เรียกว่า "โรคติดเชื้อฉวยโอกาส" ซึ่งมีหลาย ชนิด แล้วแต่ว่าจะติดเชื้อชนิดใด และเกิดที่ส่วนใดของ ร่างกาย หากเป็นวัณโรคที่ปอดจะมีอาการไข้ เรื้อรัง ไอเป็นเลือด ถ้าเป็นเยื่อหุ้มสมอง อักเสบจากเชื้อ Cryptococcus จะมีอาการปวดศรีษะอย่างรุนแรง คอแข็ง คลื่นไส้อาเจียน หากเป็นโรคเอดส์ ของระบบประสาทก็จะมีอาการความจำเสื่อม ซึมเศร้า แขนขา อ่อนแรงเป็นต้น ส่วนใหญ่เมื่อผู้ เป็นเอดส์ เข้าสู่ระยะสุดท้ายนี้แล้วโดยทั่วไปจะมีชีวิตอยู่ได้เพียง 1-2 ปี

          
     โรคเอดส์สามารถป้องกันได้ถ้ามีความระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการมีพฤติกรรมเสี่ยง ซึ่ง พฤติกรรม เสี่ยงนั้นเกิดขึ้น ได้ทั้งในเพศชายและเพศหญิง โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่เอื้อ ต่อการมีเพศสัมพันธ์ ซึ่งวิธีที่จะป้องกันให้ปลอดภัย จากการติดเชื้อเอชไอวี มีหลายวิธีเช่น การไม่มีเพศสัมพันธ์ จนกว่าจะสามารถรับผิดชอบผลจากการมีเพศสัมพันธุ์ได้ ควรละเว้นการใช ้สารเสพติดทุกชนิด
         
      โรคเอดส์มิได้ติดต่อกันได้ง่าย ๆ จากการใช้ชีวิตประจำวันร่วมกันแต่ติดต่อจากพฤติกรรม หรือการกระทำ บางอย่าง ไม่ควรตื่นตระหนกจนเกินไปสามารถป้องกันได้ ถ้ามีความระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการมีพฤติกรรมเสี่ยง พฤติกรรมวิธีที่จะป้องกันให้ปลอดภัย จากการติดเชื้อเอชไอวี ดังต่อไปนี้
         
           ไม่มีเพศสัมพันธ์จนกว่าจะสามารถรับผิดชอบผลจากการมีเพศสัมพันธ์ได้ เช่น ปัญหา ครอบครัว ปัญหาทาง เศรษฐกิจและสังคม การตั้งครรภ์เมื่อยังไม่พร้อม การติดเชื้อ โรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
           ควรละเว้นการใช้สารเสพติดทุกชนิด รวมทั้ง เหล้าและเครื่องดื่มที่มีอัลกอฮอล์ เพราะ อาจนำไปสู่การขาดสติ ไม่สามารถป้องกันตัวได้อย่างถูกต้อง
           ควรศึกษาข้อมูลความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ และวิธีป้องกันจนเข้าใจ และสามารถนำไป ปฏิบัติได้จริง
           หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์แบบฉายฉวย ไม่ควรมีคู่นอนหลายคน
           เมื่อมีเพศสัมพันธ์กับบุคคลที่มิใช่สามีภรรยาต้องใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้ง
           หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก เพราะมีโอกาสเสี่ยงในการติดเชื้อ เอชไอวี สูงกว่าทางช่องคลอด เนื่องจากฉีกขาดได้ง่ายและรับเชื้อได้มากกว่า หากเป็นการมีเพศสัมพันธ์ ระหว่างชายกับชายควรใช้ถุงยาง อนามัยทุกครั้ง
           ต้องมีการตรวจสุขภาพและตรวจเลือดก่อนแต่ง/ก่อนท้อง ในกรณีที่ตัดสินใจจะมี ครอบครัว เพื่อจะได้ทราบสถานะสุขภาพ ของตนเองและคู่รักก่อนมีเพศสัมพันธ์รวมทั้งเพื่อ ประกันความปลอดภัยของทารกที่จะเกิดใหม่ด้วย
           หลีกเลี่ยงการใช้เข็มฉีดยา กระบอกฉีดยาและของมีคมร่วมกัน
           การมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย เช่น การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง การกอดรัด การ เสียดสี ร่างกายซึ่งกันและกัน การจูบเป็นต้น
           การใช้ถุงยางอนามัยในการร่วมเพศทุกรูปแบบ เช่น ร่วมเพศด้วยปาก ทางช่องคลอด หรือทางทวารหนัก
           การใช้ถุงยางอนามัยที่ถูกวิธี เช่น การใช้ถุงยางอนามัยที่มีเครื่องหมายรับรองคุณภาพ การใช้ถุงยางอนามัย ที่ไม่หมดอายุ การเก็บรักษาที่ถูกต้อง การสวมใส่อย่างถูกวิธี
           การพูดคุยเรื่องเอดส์และเพศระหว่างบุคคลในครอบครัว จะสามารถช่วยลดความเข้าใจผิด ๆ ในเรื่องเพศ และให้แนวทางที่ถูกต้องในการป้องกัน
           หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ เมื่อแต่ละคนมีแผลที่อวัยวะเพศหรือเป็นโรคทางเพศ สัมพันธ์
           งดเว้นการ่วมเพศอย่างรุนแรง หรือการทำร้ายร่างกายจนเกิดบาดแผล เลือดตก ยางออก
           หลีกเลี่ยงการใช้ปากกับอวัยวะเพศ เมื่อมีแผลในปากหรืออวัยวะเพศ
           ควรมีการสร้างทัศนคติให้ผู้ชายมีบทบาทรับผิดชอบในการป้องกันดรคไม่ให้เข้าสู่ บุคคล หรือสมาชิกในครอบครัว


การรักษา

                 การดูแลรักษาผู้ที่ติดเชื้อ และผู้ป่วยโรคเอดส์ ประกอบด้วยวิธีการรักษาที่มีจุดประสงค์ และ เทคโนโลยี แตกต่างกันดังนี้
           การดูแลสุขภาพด้วยวิธีการทางการแพทย์แผนปัจจุบัน ยาที่ใช้ในการรักษาผู้ติดเชื้อ หรือ ผู้ป่วยเอดส์มี 2 ลักษณะ คือ (กองโรคเอดส์.  2547)  ยาต้านไวรัสเอดส์ หมายถึง ยาที่สังเคราะห์ ขึ้นมาเพื่อหยุดยั้งหรือออกฤทธิ์ต้านการแบ่งตัว การยับยั้งการเกาะจับและเข้าเซลล์ (Interference  With  Attachment  and Entry)
           ยาต้านไวรัสเอดส์ที่มีใช้ทางคลินิกในปัจจุบัน (Current  Antiretroviral  Drug in Clinical Use) ในปัจจุบัน ยาต้านไวรัสเอดส์ที่ได้รับการ จดทะเบียนโดย USFDA มีทั้งหมด 11 ชนิด ประกอบด้วยยา 3 กลุ่ม คือ
           กลุ่ม Nucleoside Analongues Reverse Transcriptase Inhibitors :: ได้แก่ AZT , ddC , ddI , d4T , 3TC เป็นยาที่สร้างด้วยการทดแทน หรือเปลี่ยนแปลง Side  Chain ของ Nucleosides (Thymidine, Adenosine, Cytidine) การออกฤทธิ์ของยากลุ่มนี้ ต้องผ่านขบวนการ Phosphorylation ภายในเซลล์ให้กลายเป็น mono-, di-, และ Triphosphate  Compound ในที่สุดจึงจะออกฤทธิ์ได้ กลไกการออกฤทธิ์ ที่สำคัญ คือ การแย่ง จับกับ HIV-RT (Inhibitory Competitor) และการหยุดยั้งการเรียงต่อ ของลำดับเบสของDNA (Chain Terminator) ในกรณีที่ใช้ยากลุ่มนี้เป็นยาเดี่ยวในการรักษา (Monotherapy) จะสามารถลดจำนวนเชื้อในพลาสมาลงได้เพียง 0.3-0.7 log10 หรือ น้อยกว่า 10 เท่า ยกตัวอย่างเช่น หากผู้ป่วยมีเชื้อ 100,000 ตัวต่อลบ.ซม.การรักษาด้วยnucleoside RTI Monontherapy (เช่น AZT หรือ ddI) ณ ประสิทธิภาพสูงสุดของยา ผู้ป่วยรายนี้ก็ยังคง มีจำนวนเชื้ออยู่ใน ระดับ ที่มากกว่า 10,000 ตัวต่อลบ.ซม. และประกอบกับปัญหาการดื้อยา ที่จะเกิดขึ้นในที่สุด จึงไม่สามารถ ลดอัตราการเกิดเอดส์และอัตราตายได้
           กลุ่ม Nonnucleoside Reverse Transcriptase Inhibitors (NNRTIs)      ได้แก่ Nevirapine, Efaviren ยาในกลุ่ม Nonnucleoside Reverse Transcriptase Inhibitors หรือ NNRTIs นี้เป็นยาที่มีโครงสร้าง และสูตรทางเคมีที่แตกต่างกันแต่มีฤทธิ์แรง (Potent) ในการยับยั้งอย่างจำเพาะต่อ Revers Transcriptase (RT) ของ HIV-1 เท่านั้น ไม่มีผลยับยั้ง เอนไซม์ของ HIV-2 Hepatitis, Herpes virus และเอนไซม์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมแต่อย่างใด และกลไกการออกฤทธิ์แตกต่างจากยาในกลุ่ม Nucleoside Analogue RT Inhibitors (NRTIs) หลายประการ เช่น NNRTIs เป็น Active Compounds ที่ออกฤทธิ์ได้เลยโดยไม่ต้องผ่านขบวน การ Phosphorylation หรือ Metabolism อื่นใดอีก การออกฤทธิ์ของ NNRTIs เป็นแบบ noncompetitive คือไม่มีการแย่งจับแข่งกับ Native Nucleotidesแต่เป็นการจับHIV-1 RT ตรงบริเวณล่างลงมา (Downsteam) จาก catalytic site ยาในกลุ่ม NNRTIs นี้จะถูก metabolize เกือบทั้งสิ้นที่ตับ ข้อดีของยาในกลุ่ม NNRTIs ส่วนใหญ่มีฤทธิ์ยาว สามารถ รับประทานเพียงวันละ 1-2 ครั้งได้เป็นการง่าย (Favorable  Adherence) แต่ข้อเสียคือเกิดการ ดื้อยารวดเร็วมากโดยเฉพาะเมื่อใช้เดี่ยว ๆ หรือร่วมกับยาในสูตรที่อ่อน หรือล้มเหลวในการรักษา มาก่อน และเมื่อเกิดเชื้อดื้อยาจะเกิดการดื้อต่อยาอื่น ๆ ในกลุ่มนี้ด้วย ทั้งนี้เนื่องจากยาในกลุ่มนี้ มีสูตรโครงสร้างทางเคมีที่แตกต่างกันจริงแต่ตำแหน่งที่จับ (Binding   Pocket) กับเอนไซม์ RTเป็นตำแหน่งเดียวกันหมดนั่นเอง ความน่าสนใจของกลุ่มนี้ นอกจากจะใช้เป็นยาตัวหนึ่ง ในสูตรยาร่วม 3 ชนิด (Triple Herapy) โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่ยังไม่มีอาการมาก (Not Advanced) (เพื่อเก็บ Protease Inhibitors ไว้ใช้ทีหลัง) แล้ว ยา NNRTIs กลุ่มนี้ เช่น Nevirapine และ DMP-226 ยานี้อาจมีประโยชน์ในสูตรรักษาแบบระยะสั้น (Short course) ในการป้องกันการติดเชื้อ HIV จากแม่ไปสู่ลูกได้ซึ่งต้องรอผลการศึกษาที่กำลังดำเนินในต่าง ประเทศต่อไป
           กลุ่ม HIV-1 Protease Inhibitors : ได้แก่ Saquinavir (Hard Capsule, Soft Gel Capsule), Indinavir, Ritonavir และ Nelfinavir HIV-1 Protease เป็น Enzyme ของเชื้อ HIV-1 ซึ่งประกอบด้วยโปรตีน 2 สายที่เหมือนกัน (Symmetrical   Isomer)  คือ  กรดอะมิโน (Amino Acids) 99 ตัว มีหน้าที่สำคัญ เกี่ยวกับการตัดย่อย Gag-Pol  Polypeptide Precursor เพื่อทำให้ Immature HIV-1 กลายเป็น Mature  Infectious ภายหลังการประกอบรูปร่างไวรัส แล้ว หลายปีที่ผ่านมาจึงมีการพยายามคิดค้นยาเพื่อยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อ HIV โดยออกฤทธิ์ ยับยั้ง HIV-1 Protease เรียกยากลุ่มนี้ว่า Protease Inhibitors (PI) ทั้งโดยอาศัยความรู้ เกี่ยวกับโครงสร้าง 3 มิติ (3-Dimensional Tructure) ของ HIV-1 Protease และการออกแบบ โครงสร้าง Inhibitor ด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ (Computer   Modeling) ทำให้มียา Protease  Inhibitors เกิดขึ้นหลายตัว อย่างไรก็ตามยารุ่นแรก ๆ ส่วนใหญ่เป็น Petide-Based Compounds ทำให้มีปัญหาเรื่องการดูดซึม (Oral Absorption), Rapid Biliary Clearance, Poor Stability และค่าใช้จ่ายสูงในการผลิต ปัจจุบันยา Protease Inhibitors รุ่นที่ 2 (second-generation) จะเน้นโครงสร้างเป็น Partially Peptidic หรือ Nonpeptidic  ทั้งนี้เพื่อเพิ่ม การดูดซึม  (Bioavailability)   นั่นเอง


อาการติดเชื้อเอดส์แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังน
ี้

ระยะที่ 1

          ระยะไม่ปรากฎอาการ (Asymptomatic stage) หรือระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ ในระยะนี้ ผู้ติดเชื้อจะไม่แสดงอาการผิดปกติใดๆ ออกมา จึงดูเหมือนคนมีสุขภาพแข็งแรง เหมือนคนปกติ แต่อาจ จะเจ็บป่วยเล็ก ๆ น้อย ๆ จากระยะแรกเข้าสู่ระยะต่อไปโดยเฉลี่ยใช้เวลาประมาณ 7-8 ปี แต่บางคน อาจไม่มีอาการนานถึง 10 ปี จึงทำให้ผู้ติดเชื้อสามารถแพร่เชื้อต่อไปให้กับบุคคลอื่นได้ เนื่องจาก ส่วนใหญ่ไม่ทราบว่าตนเองติดเชื้อ

ระยะที่ 2
                     
          ระยะมีอาการสัมพันธ์กับเอดส์ (Aids Related Complex หรือ ARC) หรือระยะเริ่มปรากฎอาการ (Symptomatic HIV Infection) ในระยะนี้จะตรวจพบผลเลือดบวก และมีอาการผิดปกติเกิดขึ้นในเห็น เช่น ต่อมน้ำเหลืองโตหลายแห่งติดต่อกันนานกว่า 3 เดือน , มีเชื้อราในปากบริเวณกระพุ้งแก้ม และ เพดานปาก, เป็นงูสวัด หรือแผลเริมชนิดลุกลาม และมีอาการเรื้อรังนานเกิน 1 เดือน โดยไม่ทราบสาเหตุ เช่น มีไข้ ท้องเสีย ผิวหนังอักเสบ น้ำหนักลด เป็นต้น ระยะนี้อาจเป็นอยู่นานเป็นปีก่อนจะกลายเป็น เอดส์ระยะเต็มขึ้นต่อไป

ระยะที่ 3
         
          ระยะเอดส์เต็มขั้น (Full Blown AIDS) หรือ ระยะโรคเอดส์ ในระยะนี้ภูมิคุ้มกันของ ร่างกาย จะถูกทำลายลงไปมาก ทำให้เป็นโรคต่าง ๆ ได้ง่าย หรือที่เรียกว่า "โรคติดเชื้อฉวยโอกาส" ซึ่งมีหลาย ชนิด แล้วแต่ว่าจะติดเชื้อชนิดใด และเกิดที่ส่วนใดของ ร่างกาย หากเป็นวัณโรคที่ปอดจะมีอาการไข้ เรื้อรัง ไอเป็นเลือด ถ้าเป็นเยื่อหุ้มสมอง อักเสบจากเชื้อ Cryptococcus จะมีอาการปวดศรีษะอย่างรุนแรง คอแข็ง คลื่นไส้อาเจียน หากเป็นโรคเอดส์ ของระบบประสาทก็จะมีอาการความจำเสื่อม ซึมเศร้า แขนขา อ่อนแรงเป็นต้น ส่วนใหญ่เมื่อผู้ เป็นเอดส์ เข้าสู่ระยะสุดท้ายนี้แล้วโดยทั่วไปจะมีชีวิตอยู่ได้เพียง 1-2 ปี

          
     โรคเอดส์สามารถป้องกันได้ถ้ามีความระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการมีพฤติกรรมเสี่ยง ซึ่ง พฤติกรรม เสี่ยงนั้นเกิดขึ้น ได้ทั้งในเพศชายและเพศหญิง โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่เอื้อ ต่อการมีเพศสัมพันธ์ ซึ่งวิธีที่จะป้องกันให้ปลอดภัย จากการติดเชื้อเอชไอวี มีหลายวิธีเช่น การไม่มีเพศสัมพันธ์ จนกว่าจะสามารถรับผิดชอบผลจากการมีเพศสัมพันธุ์ได้ ควรละเว้นการใช ้สารเสพติดทุกชนิด
         
      โรคเอดส์มิได้ติดต่อกันได้ง่าย ๆ จากการใช้ชีวิตประจำวันร่วมกันแต่ติดต่อจากพฤติกรรม หรือการกระทำ บางอย่าง ไม่ควรตื่นตระหนกจนเกินไปสามารถป้องกันได้ ถ้ามีความระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการมีพฤติกรรมเสี่ยง พฤติกรรมวิธีที่จะป้องกันให้ปลอดภัย จากการติดเชื้อเอชไอวี ดังต่อไปนี้
         
           ไม่มีเพศสัมพันธ์จนกว่าจะสามารถรับผิดชอบผลจากการมีเพศสัมพันธ์ได้ เช่น ปัญหา ครอบครัว ปัญหาทาง เศรษฐกิจและสังคม การตั้งครรภ์เมื่อยังไม่พร้อม การติดเชื้อ โรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
           ควรละเว้นการใช้สารเสพติดทุกชนิด รวมทั้ง เหล้าและเครื่องดื่มที่มีอัลกอฮอล์ เพราะ อาจนำไปสู่การขาดสติ ไม่สามารถป้องกันตัวได้อย่างถูกต้อง
           ควรศึกษาข้อมูลความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ และวิธีป้องกันจนเข้าใจ และสามารถนำไป ปฏิบัติได้จริง
           หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์แบบฉายฉวย ไม่ควรมีคู่นอนหลายคน
           เมื่อมีเพศสัมพันธ์กับบุคคลที่มิใช่สามีภรรยาต้องใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้ง
           หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก เพราะมีโอกาสเสี่ยงในการติดเชื้อ เอชไอวี สูงกว่าทางช่องคลอด เนื่องจากฉีกขาดได้ง่ายและรับเชื้อได้มากกว่า หากเป็นการมีเพศสัมพันธ์ ระหว่างชายกับชายควรใช้ถุงยาง อนามัยทุกครั้ง
           ต้องมีการตรวจสุขภาพและตรวจเลือดก่อนแต่ง/ก่อนท้อง ในกรณีที่ตัดสินใจจะมี ครอบครัว เพื่อจะได้ทราบสถานะสุขภาพ ของตนเองและคู่รักก่อนมีเพศสัมพันธ์รวมทั้งเพื่อ ประกันความปลอดภัยของทารกที่จะเกิดใหม่ด้วย
           หลีกเลี่ยงการใช้เข็มฉีดยา กระบอกฉีดยาและของมีคมร่วมกัน
           การมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย เช่น การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง การกอดรัด การ เสียดสี ร่างกายซึ่งกันและกัน การจูบเป็นต้น
           การใช้ถุงยางอนามัยในการร่วมเพศทุกรูปแบบ เช่น ร่วมเพศด้วยปาก ทางช่องคลอด หรือทางทวารหนัก
           การใช้ถุงยางอนามัยที่ถูกวิธี เช่น การใช้ถุงยางอนามัยที่มีเครื่องหมายรับรองคุณภาพ การใช้ถุงยางอนามัย ที่ไม่หมดอายุ การเก็บรักษาที่ถูกต้อง การสวมใส่อย่างถูกวิธี
           การพูดคุยเรื่องเอดส์และเพศระหว่างบุคคลในครอบครัว จะสามารถช่วยลดความเข้าใจผิด ๆ ในเรื่องเพศ และให้แนวทางที่ถูกต้องในการป้องกัน
           หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ เมื่อแต่ละคนมีแผลที่อวัยวะเพศหรือเป็นโรคทางเพศ สัมพันธ์
           งดเว้นการ่วมเพศอย่างรุนแรง หรือการทำร้ายร่างกายจนเกิดบาดแผล เลือดตก ยางออก
           หลีกเลี่ยงการใช้ปากกับอวัยวะเพศ เมื่อมีแผลในปากหรืออวัยวะเพศ
           ควรมีการสร้างทัศนคติให้ผู้ชายมีบทบาทรับผิดชอบในการป้องกันดรคไม่ให้เข้าสู่ บุคคล หรือสมาชิกในครอบครัว


การรักษา

                 การดูแลรักษาผู้ที่ติดเชื้อ และผู้ป่วยโรคเอดส์ ประกอบด้วยวิธีการรักษาที่มีจุดประสงค์ และ เทคโนโลยี แตกต่างกันดังนี้
           การดูแลสุขภาพด้วยวิธีการทางการแพทย์แผนปัจจุบัน ยาที่ใช้ในการรักษาผู้ติดเชื้อ หรือ ผู้ป่วยเอดส์มี 2 ลักษณะ คือ (กองโรคเอดส์.  2547)  ยาต้านไวรัสเอดส์ หมายถึง ยาที่สังเคราะห์ ขึ้นมาเพื่อหยุดยั้งหรือออกฤทธิ์ต้านการแบ่งตัว การยับยั้งการเกาะจับและเข้าเซลล์ (Interference  With  Attachment  and Entry)
           ยาต้านไวรัสเอดส์ที่มีใช้ทางคลินิกในปัจจุบัน (Current  Antiretroviral  Drug in Clinical Use) ในปัจจุบัน ยาต้านไวรัสเอดส์ที่ได้รับการ จดทะเบียนโดย USFDA มีทั้งหมด 11 ชนิด ประกอบด้วยยา 3 กลุ่ม คือ
           กลุ่ม Nucleoside Analongues Reverse Transcriptase Inhibitors :: ได้แก่ AZT , ddC , ddI , d4T , 3TC เป็นยาที่สร้างด้วยการทดแทน หรือเปลี่ยนแปลง Side  Chain ของ Nucleosides (Thymidine, Adenosine, Cytidine) การออกฤทธิ์ของยากลุ่มนี้ ต้องผ่านขบวนการ Phosphorylation ภายในเซลล์ให้กลายเป็น mono-, di-, และ Triphosphate  Compound ในที่สุดจึงจะออกฤทธิ์ได้ กลไกการออกฤทธิ์ ที่สำคัญ คือ การแย่ง จับกับ HIV-RT (Inhibitory Competitor) และการหยุดยั้งการเรียงต่อ ของลำดับเบสของDNA (Chain Terminator) ในกรณีที่ใช้ยากลุ่มนี้เป็นยาเดี่ยวในการรักษา (Monotherapy) จะสามารถลดจำนวนเชื้อในพลาสมาลงได้เพียง 0.3-0.7 log10 หรือ น้อยกว่า 10 เท่า ยกตัวอย่างเช่น หากผู้ป่วยมีเชื้อ 100,000 ตัวต่อลบ.ซม.การรักษาด้วยnucleoside RTI Monontherapy (เช่น AZT หรือ ddI) ณ ประสิทธิภาพสูงสุดของยา ผู้ป่วยรายนี้ก็ยังคง มีจำนวนเชื้ออยู่ใน ระดับ ที่มากกว่า 10,000 ตัวต่อลบ.ซม. และประกอบกับปัญหาการดื้อยา ที่จะเกิดขึ้นในที่สุด จึงไม่สามารถ ลดอัตราการเกิดเอดส์และอัตราตายได้
           กลุ่ม Nonnucleoside Reverse Transcriptase Inhibitors (NNRTIs)      ได้แก่ Nevirapine, Efaviren ยาในกลุ่ม Nonnucleoside Reverse Transcriptase Inhibitors หรือ NNRTIs นี้เป็นยาที่มีโครงสร้าง และสูตรทางเคมีที่แตกต่างกันแต่มีฤทธิ์แรง (Potent) ในการยับยั้งอย่างจำเพาะต่อ Revers Transcriptase (RT) ของ HIV-1 เท่านั้น ไม่มีผลยับยั้ง เอนไซม์ของ HIV-2 Hepatitis, Herpes virus และเอนไซม์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมแต่อย่างใด และกลไกการออกฤทธิ์แตกต่างจากยาในกลุ่ม Nucleoside Analogue RT Inhibitors (NRTIs) หลายประการ เช่น NNRTIs เป็น Active Compounds ที่ออกฤทธิ์ได้เลยโดยไม่ต้องผ่านขบวน การ Phosphorylation หรือ Metabolism อื่นใดอีก การออกฤทธิ์ของ NNRTIs เป็นแบบ noncompetitive คือไม่มีการแย่งจับแข่งกับ Native Nucleotidesแต่เป็นการจับHIV-1 RT ตรงบริเวณล่างลงมา (Downsteam) จาก catalytic site ยาในกลุ่ม NNRTIs นี้จะถูก metabolize เกือบทั้งสิ้นที่ตับ ข้อดีของยาในกลุ่ม NNRTIs ส่วนใหญ่มีฤทธิ์ยาว สามารถ รับประทานเพียงวันละ 1-2 ครั้งได้เป็นการง่าย (Favorable  Adherence) แต่ข้อเสียคือเกิดการ ดื้อยารวดเร็วมากโดยเฉพาะเมื่อใช้เดี่ยว ๆ หรือร่วมกับยาในสูตรที่อ่อน หรือล้มเหลวในการรักษา มาก่อน และเมื่อเกิดเชื้อดื้อยาจะเกิดการดื้อต่อยาอื่น ๆ ในกลุ่มนี้ด้วย ทั้งนี้เนื่องจากยาในกลุ่มนี้ มีสูตรโครงสร้างทางเคมีที่แตกต่างกันจริงแต่ตำแหน่งที่จับ (Binding   Pocket) กับเอนไซม์ RTเป็นตำแหน่งเดียวกันหมดนั่นเอง ความน่าสนใจของกลุ่มนี้ นอกจากจะใช้เป็นยาตัวหนึ่ง ในสูตรยาร่วม 3 ชนิด (Triple Herapy) โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่ยังไม่มีอาการมาก (Not Advanced) (เพื่อเก็บ Protease Inhibitors ไว้ใช้ทีหลัง) แล้ว ยา NNRTIs กลุ่มนี้ เช่น Nevirapine และ DMP-226 ยานี้อาจมีประโยชน์ในสูตรรักษาแบบระยะสั้น (Short course) ในการป้องกันการติดเชื้อ HIV จากแม่ไปสู่ลูกได้ซึ่งต้องรอผลการศึกษาที่กำลังดำเนินในต่าง ประเทศต่อไป
           กลุ่ม HIV-1 Protease Inhibitors : ได้แก่ Saquinavir (Hard Capsule, Soft Gel Capsule), Indinavir, Ritonavir และ Nelfinavir HIV-1 Protease เป็น Enzyme ของเชื้อ HIV-1 ซึ่งประกอบด้วยโปรตีน 2 สายที่เหมือนกัน (Symmetrical   Isomer)  คือ  กรดอะมิโน (Amino Acids) 99 ตัว มีหน้าที่สำคัญ เกี่ยวกับการตัดย่อย Gag-Pol  Polypeptide Precursor เพื่อทำให้ Immature HIV-1 กลายเป็น Mature  Infectious ภายหลังการประกอบรูปร่างไวรัส แล้ว หลายปีที่ผ่านมาจึงมีการพยายามคิดค้นยาเพื่อยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อ HIV โดยออกฤทธิ์ ยับยั้ง HIV-1 Protease เรียกยากลุ่มนี้ว่า Protease Inhibitors (PI) ทั้งโดยอาศัยความรู้ เกี่ยวกับโครงสร้าง 3 มิติ (3-Dimensional Tructure) ของ HIV-1 Protease และการออกแบบ โครงสร้าง Inhibitor ด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ (Computer   Modeling) ทำให้มียา Protease  Inhibitors เกิดขึ้นหลายตัว อย่างไรก็ตามยารุ่นแรก ๆ ส่วนใหญ่เป็น Petide-Based Compounds ทำให้มีปัญหาเรื่องการดูดซึม (Oral Absorption), Rapid Biliary Clearance, Poor Stability และค่าใช้จ่ายสูงในการผลิต ปัจจุบันยา Protease Inhibitors รุ่นที่ 2 (second-generation) จะเน้นโครงสร้างเป็น Partially Peptidic หรือ Nonpeptidic  ทั้งนี้เพื่อเพิ่ม การดูดซึม  (Bioavailability)   นั่นเอง


อาการติดเชื้อเอดส์แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังน
ี้

ระยะที่ 1

          ระยะไม่ปรากฎอาการ (Asymptomatic stage) หรือระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ ในระยะนี้ ผู้ติดเชื้อจะไม่แสดงอาการผิดปกติใดๆ ออกมา จึงดูเหมือนคนมีสุขภาพแข็งแรง เหมือนคนปกติ แต่อาจ จะเจ็บป่วยเล็ก ๆ น้อย ๆ จากระยะแรกเข้าสู่ระยะต่อไปโดยเฉลี่ยใช้เวลาประมาณ 7-8 ปี แต่บางคน อาจไม่มีอาการนานถึง 10 ปี จึงทำให้ผู้ติดเชื้อสามารถแพร่เชื้อต่อไปให้กับบุคคลอื่นได้ เนื่องจาก ส่วนใหญ่ไม่ทราบว่าตนเองติดเชื้อ

ระยะที่ 2
                     
          ระยะมีอาการสัมพันธ์กับเอดส์ (Aids Related Complex หรือ ARC) หรือระยะเริ่มปรากฎอาการ (Symptomatic HIV Infection) ในระยะนี้จะตรวจพบผลเลือดบวก และมีอาการผิดปกติเกิดขึ้นในเห็น เช่น ต่อมน้ำเหลืองโตหลายแห่งติดต่อกันนานกว่า 3 เดือน , มีเชื้อราในปากบริเวณกระพุ้งแก้ม และ เพดานปาก, เป็นงูสวัด หรือแผลเริมชนิดลุกลาม และมีอาการเรื้อรังนานเกิน 1 เดือน โดยไม่ทราบสาเหตุ เช่น มีไข้ ท้องเสีย ผิวหนังอักเสบ น้ำหนักลด เป็นต้น ระยะนี้อาจเป็นอยู่นานเป็นปีก่อนจะกลายเป็น เอดส์ระยะเต็มขึ้นต่อไป

ระยะที่ 3
         
          ระยะเอดส์เต็มขั้น (Full Blown AIDS) หรือ ระยะโรคเอดส์ ในระยะนี้ภูมิคุ้มกันของ ร่างกาย จะถูกทำลายลงไปมาก ทำให้เป็นโรคต่าง ๆ ได้ง่าย หรือที่เรียกว่า "โรคติดเชื้อฉวยโอกาส" ซึ่งมีหลาย ชนิด แล้วแต่ว่าจะติดเชื้อชนิดใด และเกิดที่ส่วนใดของ ร่างกาย หากเป็นวัณโรคที่ปอดจะมีอาการไข้ เรื้อรัง ไอเป็นเลือด ถ้าเป็นเยื่อหุ้มสมอง อักเสบจากเชื้อ Cryptococcus จะมีอาการปวดศรีษะอย่างรุนแรง คอแข็ง คลื่นไส้อาเจียน หากเป็นโรคเอดส์ ของระบบประสาทก็จะมีอาการความจำเสื่อม ซึมเศร้า แขนขา อ่อนแรงเป็นต้น ส่วนใหญ่เมื่อผู้ เป็นเอดส์ เข้าสู่ระยะสุดท้ายนี้แล้วโดยทั่วไปจะมีชีวิตอยู่ได้เพียง 1-2 ปี

          
     โรคเอดส์สามารถป้องกันได้ถ้ามีความระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการมีพฤติกรรมเสี่ยง ซึ่ง พฤติกรรม เสี่ยงนั้นเกิดขึ้น ได้ทั้งในเพศชายและเพศหญิง โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่เอื้อ ต่อการมีเพศสัมพันธ์ ซึ่งวิธีที่จะป้องกันให้ปลอดภัย จากการติดเชื้อเอชไอวี มีหลายวิธีเช่น การไม่มีเพศสัมพันธ์ จนกว่าจะสามารถรับผิดชอบผลจากการมีเพศสัมพันธุ์ได้ ควรละเว้นการใช ้สารเสพติดทุกชนิด
         
      โรคเอดส์มิได้ติดต่อกันได้ง่าย ๆ จากการใช้ชีวิตประจำวันร่วมกันแต่ติดต่อจากพฤติกรรม หรือการกระทำ บางอย่าง ไม่ควรตื่นตระหนกจนเกินไปสามารถป้องกันได้ ถ้ามีความระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการมีพฤติกรรมเสี่ยง พฤติกรรมวิธีที่จะป้องกันให้ปลอดภัย จากการติดเชื้อเอชไอวี ดังต่อไปนี้
         
           ไม่มีเพศสัมพันธ์จนกว่าจะสามารถรับผิดชอบผลจากการมีเพศสัมพันธ์ได้ เช่น ปัญหา ครอบครัว ปัญหาทาง เศรษฐกิจและสังคม การตั้งครรภ์เมื่อยังไม่พร้อม การติดเชื้อ โรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
           ควรละเว้นการใช้สารเสพติดทุกชนิด รวมทั้ง เหล้าและเครื่องดื่มที่มีอัลกอฮอล์ เพราะ อาจนำไปสู่การขาดสติ ไม่สามารถป้องกันตัวได้อย่างถูกต้อง
           ควรศึกษาข้อมูลความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ และวิธีป้องกันจนเข้าใจ และสามารถนำไป ปฏิบัติได้จริง
           หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์แบบฉายฉวย ไม่ควรมีคู่นอนหลายคน
           เมื่อมีเพศสัมพันธ์กับบุคคลที่มิใช่สามีภรรยาต้องใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้ง
           หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก เพราะมีโอกาสเสี่ยงในการติดเชื้อ เอชไอวี สูงกว่าทางช่องคลอด เนื่องจากฉีกขาดได้ง่ายและรับเชื้อได้มากกว่า หากเป็นการมีเพศสัมพันธ์ ระหว่างชายกับชายควรใช้ถุงยาง อนามัยทุกครั้ง
           ต้องมีการตรวจสุขภาพและตรวจเลือดก่อนแต่ง/ก่อนท้อง ในกรณีที่ตัดสินใจจะมี ครอบครัว เพื่อจะได้ทราบสถานะสุขภาพ ของตนเองและคู่รักก่อนมีเพศสัมพันธ์รวมทั้งเพื่อ ประกันความปลอดภัยของทารกที่จะเกิดใหม่ด้วย
           หลีกเลี่ยงการใช้เข็มฉีดยา กระบอกฉีดยาและของมีคมร่วมกัน
           การมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย เช่น การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง การกอดรัด การ เสียดสี ร่างกายซึ่งกันและกัน การจูบเป็นต้น
           การใช้ถุงยางอนามัยในการร่วมเพศทุกรูปแบบ เช่น ร่วมเพศด้วยปาก ทางช่องคลอด หรือทางทวารหนัก
           การใช้ถุงยางอนามัยที่ถูกวิธี เช่น การใช้ถุงยางอนามัยที่มีเครื่องหมายรับรองคุณภาพ การใช้ถุงยางอนามัย ที่ไม่หมดอายุ การเก็บรักษาที่ถูกต้อง การสวมใส่อย่างถูกวิธี
           การพูดคุยเรื่องเอดส์และเพศระหว่างบุคคลในครอบครัว จะสามารถช่วยลดความเข้าใจผิด ๆ ในเรื่องเพศ และให้แนวทางที่ถูกต้องในการป้องกัน
           หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ เมื่อแต่ละคนมีแผลที่อวัยวะเพศหรือเป็นโรคทางเพศ สัมพันธ์
           งดเว้นการ่วมเพศอย่างรุนแรง หรือการทำร้ายร่างกายจนเกิดบาดแผล เลือดตก ยางออก
           หลีกเลี่ยงการใช้ปากกับอวัยวะเพศ เมื่อมีแผลในปากหรืออวัยวะเพศ
           ควรมีการสร้างทัศนคติให้ผู้ชายมีบทบาทรับผิดชอบในการป้องกันดรคไม่ให้เข้าสู่ บุคคล หรือสมาชิกในครอบครัว


การรักษา

                 การดูแลรักษาผู้ที่ติดเชื้อ และผู้ป่วยโรคเอดส์ ประกอบด้วยวิธีการรักษาที่มีจุดประสงค์ และ เทคโนโลยี แตกต่างกันดังนี้
           การดูแลสุขภาพด้วยวิธีการทางการแพทย์แผนปัจจุบัน ยาที่ใช้ในการรักษาผู้ติดเชื้อ หรือ ผู้ป่วยเอดส์มี 2 ลักษณะ คือ (กองโรคเอดส์.  2547)  ยาต้านไวรัสเอดส์ หมายถึง ยาที่สังเคราะห์ ขึ้นมาเพื่อหยุดยั้งหรือออกฤทธิ์ต้านการแบ่งตัว การยับยั้งการเกาะจับและเข้าเซลล์ (Interference  With  Attachment  and Entry)
           ยาต้านไวรัสเอดส์ที่มีใช้ทางคลินิกในปัจจุบัน (Current  Antiretroviral  Drug in Clinical Use) ในปัจจุบัน ยาต้านไวรัสเอดส์ที่ได้รับการ จดทะเบียนโดย USFDA มีทั้งหมด 11 ชนิด ประกอบด้วยยา 3 กลุ่ม คือ
           กลุ่ม Nucleoside Analongues Reverse Transcriptase Inhibitors :: ได้แก่ AZT , ddC , ddI , d4T , 3TC เป็นยาที่สร้างด้วยการทดแทน หรือเปลี่ยนแปลง Side  Chain ของ Nucleosides (Thymidine, Adenosine, Cytidine) การออกฤทธิ์ของยากลุ่มนี้ ต้องผ่านขบวนการ Phosphorylation ภายในเซลล์ให้กลายเป็น mono-, di-, และ Triphosphate  Compound ในที่สุดจึงจะออกฤทธิ์ได้ กลไกการออกฤทธิ์ ที่สำคัญ คือ การแย่ง จับกับ HIV-RT (Inhibitory Competitor) และการหยุดยั้งการเรียงต่อ ของลำดับเบสของDNA (Chain Terminator) ในกรณีที่ใช้ยากลุ่มนี้เป็นยาเดี่ยวในการรักษา (Monotherapy) จะสามารถลดจำนวนเชื้อในพลาสมาลงได้เพียง 0.3-0.7 log10 หรือ น้อยกว่า 10 เท่า ยกตัวอย่างเช่น หากผู้ป่วยมีเชื้อ 100,000 ตัวต่อลบ.ซม.การรักษาด้วยnucleoside RTI Monontherapy (เช่น AZT หรือ ddI) ณ ประสิทธิภาพสูงสุดของยา ผู้ป่วยรายนี้ก็ยังคง มีจำนวนเชื้ออยู่ใน ระดับ ที่มากกว่า 10,000 ตัวต่อลบ.ซม. และประกอบกับปัญหาการดื้อยา ที่จะเกิดขึ้นในที่สุด จึงไม่สามารถ ลดอัตราการเกิดเอดส์และอัตราตายได้
           กลุ่ม Nonnucleoside Reverse Transcriptase Inhibitors (NNRTIs)      ได้แก่ Nevirapine, Efaviren ยาในกลุ่ม Nonnucleoside Reverse Transcriptase Inhibitors หรือ NNRTIs นี้เป็นยาที่มีโครงสร้าง และสูตรทางเคมีที่แตกต่างกันแต่มีฤทธิ์แรง (Potent) ในการยับยั้งอย่างจำเพาะต่อ Revers Transcriptase (RT) ของ HIV-1 เท่านั้น ไม่มีผลยับยั้ง เอนไซม์ของ HIV-2 Hepatitis, Herpes virus และเอนไซม์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมแต่อย่างใด และกลไกการออกฤทธิ์แตกต่างจากยาในกลุ่ม Nucleoside Analogue RT Inhibitors (NRTIs) หลายประการ เช่น NNRTIs เป็น Active Compounds ที่ออกฤทธิ์ได้เลยโดยไม่ต้องผ่านขบวน การ Phosphorylation หรือ Metabolism อื่นใดอีก การออกฤทธิ์ของ NNRTIs เป็นแบบ noncompetitive คือไม่มีการแย่งจับแข่งกับ Native Nucleotidesแต่เป็นการจับHIV-1 RT ตรงบริเวณล่างลงมา (Downsteam) จาก catalytic site ยาในกลุ่ม NNRTIs นี้จะถูก metabolize เกือบทั้งสิ้นที่ตับ ข้อดีของยาในกลุ่ม NNRTIs ส่วนใหญ่มีฤทธิ์ยาว สามารถ รับประทานเพียงวันละ 1-2 ครั้งได้เป็นการง่าย (Favorable  Adherence) แต่ข้อเสียคือเกิดการ ดื้อยารวดเร็วมากโดยเฉพาะเมื่อใช้เดี่ยว ๆ หรือร่วมกับยาในสูตรที่อ่อน หรือล้มเหลวในการรักษา มาก่อน และเมื่อเกิดเชื้อดื้อยาจะเกิดการดื้อต่อยาอื่น ๆ ในกลุ่มนี้ด้วย ทั้งนี้เนื่องจากยาในกลุ่มนี้ มีสูตรโครงสร้างทางเคมีที่แตกต่างกันจริงแต่ตำแหน่งที่จับ (Binding   Pocket) กับเอนไซม์ RTเป็นตำแหน่งเดียวกันหมดนั่นเอง ความน่าสนใจของกลุ่มนี้ นอกจากจะใช้เป็นยาตัวหนึ่ง ในสูตรยาร่วม 3 ชนิด (Triple Herapy) โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่ยังไม่มีอาการมาก (Not Advanced) (เพื่อเก็บ Protease Inhibitors ไว้ใช้ทีหลัง) แล้ว ยา NNRTIs กลุ่มนี้ เช่น Nevirapine และ DMP-226 ยานี้อาจมีประโยชน์ในสูตรรักษาแบบระยะสั้น (Short course) ในการป้องกันการติดเชื้อ HIV จากแม่ไปสู่ลูกได้ซึ่งต้องรอผลการศึกษาที่กำลังดำเนินในต่าง ประเทศต่อไป
           กลุ่ม HIV-1 Protease Inhibitors : ได้แก่ Saquinavir (Hard Capsule, Soft Gel Capsule), Indinavir, Ritonavir และ Nelfinavir HIV-1 Protease เป็น Enzyme ของเชื้อ HIV-1 ซึ่งประกอบด้วยโปรตีน 2 สายที่เหมือนกัน (Symmetrical   Isomer)  คือ  กรดอะมิโน (Amino Acids) 99 ตัว มีหน้าที่สำคัญ เกี่ยวกับการตัดย่อย Gag-Pol  Polypeptide Precursor เพื่อทำให้ Immature HIV-1 กลายเป็น Mature  Infectious ภายหลังการประกอบรูปร่างไวรัส แล้ว หลายปีที่ผ่านมาจึงมีการพยายามคิดค้นยาเพื่อยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อ HIV โดยออกฤทธิ์ ยับยั้ง HIV-1 Protease เรียกยากลุ่มนี้ว่า Protease Inhibitors (PI) ทั้งโดยอาศัยความรู้ เกี่ยวกับโครงสร้าง 3 มิติ (3-Dimensional Tructure) ของ HIV-1 Protease และการออกแบบ โครงสร้าง Inhibitor ด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ (Computer   Modeling) ทำให้มียา Protease  Inhibitors เกิดขึ้นหลายตัว อย่างไรก็ตามยารุ่นแรก ๆ ส่วนใหญ่เป็น Petide-Based Compounds ทำให้มีปัญหาเรื่องการดูดซึม (Oral Absorption), Rapid Biliary Clearance, Poor Stability และค่าใช้จ่ายสูงในการผลิต ปัจจุบันยา Protease Inhibitors รุ่นที่ 2 (second-generation) จะเน้นโครงสร้างเป็น Partially Peptidic หรือ Nonpeptidic  ทั้งนี้เพื่อเพิ่ม การดูดซึม  (Bioavailability)   นั่นเอง
อาการติดเชื้อเอดส์แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้

ระยะที่ 1

          ระยะไม่ปรากฎอาการ (Asymptomatic stage) หรือระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ ในระยะนี้ ผู้ติดเชื้อจะไม่แสดงอาการผิดปกติใดๆ ออกมา จึงดูเหมือนคนมีสุขภาพแข็งแรง เหมือนคนปกติ แต่อาจ จะเจ็บป่วยเล็ก ๆ น้อย ๆ จากระยะแรกเข้าสู่ระยะต่อไปโดยเฉลี่ยใช้เวลาประมาณ 7-8 ปี แต่บางคน อาจไม่มีอาการนานถึง 10 ปี จึงทำให้ผู้ติดเชื้อสามารถแพร่เชื้อต่อไปให้กับบุคคลอื่นได้ เนื่องจาก ส่วนใหญ่ไม่ทราบว่าตนเองติดเชื้อ

ระยะที่ 2
                     
          ระยะมีอาการสัมพันธ์กับเอดส์ (Aids Related Complex หรือ ARC) หรือระยะเริ่มปรากฎอาการ (Symptomatic HIV Infection) ในระยะนี้จะตรวจพบผลเลือดบวก และมีอาการผิดปกติเกิดขึ้นในเห็น เช่น ต่อมน้ำเหลืองโตหลายแห่งติดต่อกันนานกว่า 3 เดือน , มีเชื้อราในปากบริเวณกระพุ้งแก้ม และ เพดานปาก, เป็นงูสวัด หรือแผลเริมชนิดลุกลาม และมีอาการเรื้อรังนานเกิน 1 เดือน โดยไม่ทราบสาเหตุ เช่น มีไข้ ท้องเสีย ผิวหนังอักเสบ น้ำหนักลด เป็นต้น ระยะนี้อาจเป็นอยู่นานเป็นปีก่อนจะกลายเป็น เอดส์ระยะเต็มขึ้นต่อไป

ระยะที่ 3
         
          ระยะเอดส์เต็มขั้น (Full Blown AIDS) หรือ ระยะโรคเอดส์ ในระยะนี้ภูมิคุ้มกันของ ร่างกาย จะถูกทำลายลงไปมาก ทำให้เป็นโรคต่าง ๆ ได้ง่าย หรือที่เรียกว่า "โรคติดเชื้อฉวยโอกาส" ซึ่งมีหลาย ชนิด แล้วแต่ว่าจะติดเชื้อชนิดใด และเกิดที่ส่วนใดของ ร่างกาย หากเป็นวัณโรคที่ปอดจะมีอาการไข้ เรื้อรัง ไอเป็นเลือด ถ้าเป็นเยื่อหุ้มสมอง อักเสบจากเชื้อ Cryptococcus จะมีอาการปวดศรีษะอย่างรุนแรง คอแข็ง คลื่นไส้อาเจียน หากเป็นโรคเอดส์ ของระบบประสาทก็จะมีอาการความจำเสื่อม ซึมเศร้า แขนขา อ่อนแรงเป็นต้น ส่วนใหญ่เมื่อผู้ เป็นเอดส์ เข้าสู่ระยะสุดท้ายนี้แล้วโดยทั่วไปจะมีชีวิตอยู่ได้เพียง 1-2 ปี

          
     โรคเอดส์สามารถป้องกันได้ถ้ามีความระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการมีพฤติกรรมเสี่ยง ซึ่ง พฤติกรรม เสี่ยงนั้นเกิดขึ้น ได้ทั้งในเพศชายและเพศหญิง โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่เอื้อ ต่อการมีเพศสัมพันธ์ ซึ่งวิธีที่จะป้องกันให้ปลอดภัย จากการติดเชื้อเอชไอวี มีหลายวิธีเช่น การไม่มีเพศสัมพันธ์ จนกว่าจะสามารถรับผิดชอบผลจากการมีเพศสัมพันธุ์ได้ ควรละเว้นการใช ้สารเสพติดทุกชนิด
         
      โรคเอดส์มิได้ติดต่อกันได้ง่าย ๆ จากการใช้ชีวิตประจำวันร่วมกันแต่ติดต่อจากพฤติกรรม หรือการกระทำ บางอย่าง ไม่ควรตื่นตระหนกจนเกินไปสามารถป้องกันได้ ถ้ามีความระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการมีพฤติกรรมเสี่ยง พฤติกรรมวิธีที่จะป้องกันให้ปลอดภัย จากการติดเชื้อเอชไอวี ดังต่อไปนี้
         
           ไม่มีเพศสัมพันธ์จนกว่าจะสามารถรับผิดชอบผลจากการมีเพศสัมพันธ์ได้ เช่น ปัญหา ครอบครัว ปัญหาทาง เศรษฐกิจและสังคม การตั้งครรภ์เมื่อยังไม่พร้อม การติดเชื้อ โรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
           ควรละเว้นการใช้สารเสพติดทุกชนิด รวมทั้ง เหล้าและเครื่องดื่มที่มีอัลกอฮอล์ เพราะ อาจนำไปสู่การขาดสติ ไม่สามารถป้องกันตัวได้อย่างถูกต้อง
           ควรศึกษาข้อมูลความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ และวิธีป้องกันจนเข้าใจ และสามารถนำไป ปฏิบัติได้จริง
           หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์แบบฉายฉวย ไม่ควรมีคู่นอนหลายคน
           เมื่อมีเพศสัมพันธ์กับบุคคลที่มิใช่สามีภรรยาต้องใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้ง
           หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก เพราะมีโอกาสเสี่ยงในการติดเชื้อ เอชไอวี สูงกว่าทางช่องคลอด เนื่องจากฉีกขาดได้ง่ายและรับเชื้อได้มากกว่า หากเป็นการมีเพศสัมพันธ์ ระหว่างชายกับชายควรใช้ถุงยาง อนามัยทุกครั้ง
           ต้องมีการตรวจสุขภาพและตรวจเลือดก่อนแต่ง/ก่อนท้อง ในกรณีที่ตัดสินใจจะมี ครอบครัว เพื่อจะได้ทราบสถานะสุขภาพ ของตนเองและคู่รักก่อนมีเพศสัมพันธ์รวมทั้งเพื่อ ประกันความปลอดภัยของทารกที่จะเกิดใหม่ด้วย
           หลีกเลี่ยงการใช้เข็มฉีดยา กระบอกฉีดยาและของมีคมร่วมกัน
           การมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย เช่น การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง การกอดรัด การ เสียดสี ร่างกายซึ่งกันและกัน การจูบเป็นต้น
           การใช้ถุงยางอนามัยในการร่วมเพศทุกรูปแบบ เช่น ร่วมเพศด้วยปาก ทางช่องคลอด หรือทางทวารหนัก
           การใช้ถุงยางอนามัยที่ถูกวิธี เช่น การใช้ถุงยางอนามัยที่มีเครื่องหมายรับรองคุณภาพ การใช้ถุงยางอนามัย ที่ไม่หมดอายุ การเก็บรักษาที่ถูกต้อง การสวมใส่อย่างถูกวิธี
           การพูดคุยเรื่องเอดส์และเพศระหว่างบุคคลในครอบครัว จะสามารถช่วยลดความเข้าใจผิด ๆ ในเรื่องเพศ และให้แนวทางที่ถูกต้องในการป้องกัน
           หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ เมื่อแต่ละคนมีแผลที่อวัยวะเพศหรือเป็นโรคทางเพศ สัมพันธ์
           งดเว้นการ่วมเพศอย่างรุนแรง หรือการทำร้ายร่างกายจนเกิดบาดแผล เลือดตก ยางออก
           หลีกเลี่ยงการใช้ปากกับอวัยวะเพศ เมื่อมีแผลในปากหรืออวัยวะเพศ
           ควรมีการสร้างทัศนคติให้ผู้ชายมีบทบาทรับผิดชอบในการป้องกันดรคไม่ให้เข้าสู่ บุคคล หรือสมาชิกในครอบครัว


การรักษา

                 การดูแลรักษาผู้ที่ติดเชื้อ และผู้ป่วยโรคเอดส์ ประกอบด้วยวิธีการรักษาที่มีจุดประสงค์ และ เทคโนโลยี แตกต่างกันดังนี้
           การดูแลสุขภาพด้วยวิธีการทางการแพทย์แผนปัจจุบัน ยาที่ใช้ในการรักษาผู้ติดเชื้อ หรือ ผู้ป่วยเอดส์มี 2 ลักษณะ คือ (กองโรคเอดส์.  2547)  ยาต้านไวรัสเอดส์ หมายถึง ยาที่สังเคราะห์ ขึ้นมาเพื่อหยุดยั้งหรือออกฤทธิ์ต้านการแบ่งตัว การยับยั้งการเกาะจับและเข้าเซลล์ (Interference  With  Attachment  and Entry)
           ยาต้านไวรัสเอดส์ที่มีใช้ทางคลินิกในปัจจุบัน (Current  Antiretroviral  Drug in Clinical Use) ในปัจจุบัน ยาต้านไวรัสเอดส์ที่ได้รับการ จดทะเบียนโดย USFDA มีทั้งหมด 11 ชนิด ประกอบด้วยยา 3 กลุ่ม คือ
           กลุ่ม Nucleoside Analongues Reverse Transcriptase Inhibitors :: ได้แก่ AZT , ddC , ddI , d4T , 3TC เป็นยาที่สร้างด้วยการทดแทน หรือเปลี่ยนแปลง Side  Chain ของ Nucleosides (Thymidine, Adenosine, Cytidine) การออกฤทธิ์ของยากลุ่มนี้ ต้องผ่านขบวนการ Phosphorylation ภายในเซลล์ให้กลายเป็น mono-, di-, และ Triphosphate  Compound ในที่สุดจึงจะออกฤทธิ์ได้ กลไกการออกฤทธิ์ ที่สำคัญ คือ การแย่ง จับกับ HIV-RT (Inhibitory Competitor) และการหยุดยั้งการเรียงต่อ ของลำดับเบสของDNA (Chain Terminator) ในกรณีที่ใช้ยากลุ่มนี้เป็นยาเดี่ยวในการรักษา (Monotherapy) จะสามารถลดจำนวนเชื้อในพลาสมาลงได้เพียง 0.3-0.7 log10 หรือ น้อยกว่า 10 เท่า ยกตัวอย่างเช่น หากผู้ป่วยมีเชื้อ 100,000 ตัวต่อลบ.ซม.การรักษาด้วยnucleoside RTI Monontherapy (เช่น AZT หรือ ddI) ณ ประสิทธิภาพสูงสุดของยา ผู้ป่วยรายนี้ก็ยังคง มีจำนวนเชื้ออยู่ใน ระดับ ที่มากกว่า 10,000 ตัวต่อลบ.ซม. และประกอบกับปัญหาการดื้อยา ที่จะเกิดขึ้นในที่สุด จึงไม่สามารถ ลดอัตราการเกิดเอดส์และอัตราตายได้
           กลุ่ม Nonnucleoside Reverse Transcriptase Inhibitors (NNRTIs)      ได้แก่ Nevirapine, Efaviren ยาในกลุ่ม Nonnucleoside Reverse Transcriptase Inhibitors หรือ NNRTIs นี้เป็นยาที่มีโครงสร้าง และสูตรทางเคมีที่แตกต่างกันแต่มีฤทธิ์แรง (Potent) ในการยับยั้งอย่างจำเพาะต่อ Revers Transcriptase (RT) ของ HIV-1 เท่านั้น ไม่มีผลยับยั้ง เอนไซม์ของ HIV-2 Hepatitis, Herpes virus และเอนไซม์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมแต่อย่างใด และกลไกการออกฤทธิ์แตกต่างจากยาในกลุ่ม Nucleoside Analogue RT Inhibitors (NRTIs) หลายประการ เช่น NNRTIs เป็น Active Compounds ที่ออกฤทธิ์ได้เลยโดยไม่ต้องผ่านขบวน การ Phosphorylation หรือ Metabolism อื่นใดอีก การออกฤทธิ์ของ NNRTIs เป็นแบบ noncompetitive คือไม่มีการแย่งจับแข่งกับ Native Nucleotidesแต่เป็นการจับHIV-1 RT ตรงบริเวณล่างลงมา (Downsteam) จาก catalytic site ยาในกลุ่ม NNRTIs นี้จะถูก metabolize เกือบทั้งสิ้นที่ตับ ข้อดีของยาในกลุ่ม NNRTIs ส่วนใหญ่มีฤทธิ์ยาว สามารถ รับประทานเพียงวันละ 1-2 ครั้งได้เป็นการง่าย (Favorable  Adherence) แต่ข้อเสียคือเกิดการ ดื้อยารวดเร็วมากโดยเฉพาะเมื่อใช้เดี่ยว ๆ หรือร่วมกับยาในสูตรที่อ่อน หรือล้มเหลวในการรักษา มาก่อน และเมื่อเกิดเชื้อดื้อยาจะเกิดการดื้อต่อยาอื่น ๆ ในกลุ่มนี้ด้วย ทั้งนี้เนื่องจากยาในกลุ่มนี้ มีสูตรโครงสร้างทางเคมีที่แตกต่างกันจริงแต่ตำแหน่งที่จับ (Binding   Pocket) กับเอนไซม์ RTเป็นตำแหน่งเดียวกันหมดนั่นเอง ความน่าสนใจของกลุ่มนี้ นอกจากจะใช้เป็นยาตัวหนึ่ง ในสูตรยาร่วม 3 ชนิด (Triple Herapy) โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่ยังไม่มีอาการมาก (Not Advanced) (เพื่อเก็บ Protease Inhibitors ไว้ใช้ทีหลัง) แล้ว ยา NNRTIs กลุ่มนี้ เช่น Nevirapine และ DMP-226 ยานี้อาจมีประโยชน์ในสูตรรักษาแบบระยะสั้น (Short course) ในการป้องกันการติดเชื้อ HIV จากแม่ไปสู่ลูกได้ซึ่งต้องรอผลการศึกษาที่กำลังดำเนินในต่าง ประเทศต่อไป
           กลุ่ม HIV-1 Protease Inhibitors : ได้แก่ Saquinavir (Hard Capsule, Soft Gel Capsule), Indinavir, Ritonavir และ Nelfinavir HIV-1 Protease เป็น Enzyme ของเชื้อ HIV-1 ซึ่งประกอบด้วยโปรตีน 2 สายที่เหมือนกัน (Symmetrical   Isomer)  คือ  กรดอะมิโน (Amino Acids) 99 ตัว มีหน้าที่สำคัญ เกี่ยวกับการตัดย่อย Gag-Pol  Polypeptide Precursor เพื่อทำให้ Immature HIV-1 กลายเป็น Mature  Infectious ภายหลังการประกอบรูปร่างไวรัส แล้ว หลายปีที่ผ่านมาจึงมีการพยายามคิดค้นยาเพื่อยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อ HIV โดยออกฤทธิ์ ยับยั้ง HIV-1 Protease เรียกยากลุ่มนี้ว่า Protease Inhibitors (PI) ทั้งโดยอาศัยความรู้ เกี่ยวกับโครงสร้าง 3 มิติ (3-Dimensional Tructure) ของ HIV-1 Protease และการออกแบบ โครงสร้าง Inhibitor ด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ (Computer   Modeling) ทำให้มียา Protease  Inhibitors เกิดขึ้นหลายตัว อย่างไรก็ตามยารุ่นแรก ๆ ส่วนใหญ่เป็น Petide-Based Compounds ทำให้มีปัญหาเรื่องการดูดซึม (Oral Absorption), Rapid Biliary Clearance, Poor Stability และค่าใช้จ่ายสูงในการผลิต ปัจจุบันยา Protease Inhibitors รุ่นที่ 2 (second-generation) จะเน้นโครงสร้างเป็น Partially Peptidic หรือ Nonpeptidic  ทั้งนี้เพื่อเพิ่ม การดูดซึม  (Bioavailability)   นั่นเอง
คนที่สัมผัสกับโรคเอดส์หรือคนที่ได้รับเชื้อเอดส์เข้าไปในร่างกายไม่จำเป็นต้องมีการติดเชื้อเอดส์เสมอไปขึ้นกับจำนวนครั้ง
ที่สัมผัส จำนวนและความดุร้ายของไวรัสเอดส์ที่เข้าสู่ร่างกายและภาวะภูมิต้านทานของร่างกาย ถ้ามีการติดเชื้อ อาการที่เกิดขึ้นมีได้หลายรูปแบบ หรือหลายระยะตามการดำเนินของโรค
ระยะที่ 1 : ระยะที่ไม่มีอาการอะไรภายใน 2 - 3 อาทิตย์แรกหลังจากได้รับเชื้อเอดส์เข้าไปราวร้อยละ 10 ของผู้ติดเชื้อจะมีอาการคล้ายๆ ไข้หวัด คือมีไข้ เจ็บคอ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว ต่อมน้ำเหลืองโต ผื่นตามตัว แขน ขาชาหรืออ่อนแรงเป็นอยู่ราว 10 - 14 วันก็จะหายไปเองผู้ป่วยส่วน ใหญ่อาจไม่สังเกต นึกว่าคงเป็นไข้หวัดธรรมดาราว 6 - 8 สัปดาห์ภายหลังติดเชื้อ ถ้าตรวจเลือดจะเริ่มพบว่ามีเลือดเอดส์บวกได้และส่วนใหญ่จะ ตรวจพบว่ามีเลือดเอดส์บวกภายหลัง 3 เดือนไปแล้วโดยที่ผู้ติดเชื้อจะไม่มีอาการ อะไรเลย เพียงแต่ถ้าไปตรวจก็จะพบว่า มีภูมิคุ้นเคยต่อไวรัส เอดส์อยู่ในเลือด หรือที่เรียกว่าเลือดเอดส์บวก ซึ่งแสดงว่ามีการติดเชื้อเอดส์เข้าไปแล้ว ร่างกายจึงตอบสนอง โดยการสร้างโปรตีนบางอย่างขึ้นมา ทำปฏิกิริยากับไวรัสเอดส์เรียกว่าแอนติบอดี้ ( antibody ) แต่ก็ไม่สามารถจะเอาชนะไวรัสเอดส์ได้คนที่มี เลือดเอดส์บวกจะมีไวรัสเอดส์ ์อยู่ในตัว และสามารถแพร่โรค ให้กับคนอื่นได้น้อยกว่าร้อยละ 5 ของคนที่ติดเชื้อ อาจต้องรอถึง 6 เดือนกว่าจะมีเลือดเอดส์บวกได้ ดังนั้นคนที่มีพฤติกรรม เสี่ยงมากโดย ไม่ได้ใส่ถุงยางอนามัยป้องกันตรวจตอน 3 เดือนแล้วไม่พบก็ต้องไปตรวจซ้ำอีกตอน 6 เดือนโดยในระหว่างนั้นก็ต้องใส่ถุงยาง อนามัยทุกครั้งเวลามีเพศสัมพันธ์กับภรรยา และห้ามบริจาคโลหิตให้ใครในระหว่างนั้นผู้ติดเชื้อบางรายอาจมีต่อมน้ำเหลืองตามตัวโตได้โดย โตอยู่เป็นระยะเวลานาน ๆ คือเป็นเดือน ๆ ขึ้นไปซึ่งบางรายอาจคลำ พบเองหรือไปหาแพทย์แล้วแพทย์คลำพบ ต่อมน้ำเหลืองที่โตนี้มีลักษณะ เป็นเม็ดกลมๆ แข็งๆ ขนาด 1-2 เซนติเมตร อยู่ใต้ผิวหนังบริเวณด้านข้างคอทั้ง 2 ข้าง ข้างละ หลายเม็ดในแนวเดียวกันคลำดูแล้วคลายลูกประคำ ที่คอ ไม่เจ็บ ไม่แดง นอกจากที่คอ ต่อมน้ำเหลืองที่โตยังอาจพบได้ที่รักแร้และขาหนีบทั้ง 2 ข้างแต่ต่อมน้ำเหลืองที่ขาหนีบมีความสำคัญ น้อยกว่า ที่อื่นเพราะพบได้บ่อยในคนปกติทั่วไป ต่อมน้ำเหลืองเหล่านี้จะเป็นที่พักพิงในช่วงแรกของไวรัสเอดส์โดยไวรัสเอดส์จะแบ่งตัวมากมาย
อาการของโรคฉี่หนู
      
ระยะที่ 2 : ระยะที่เริ่มมีอาการหรือระยะที่มีอาการสัมพันธ์กับเอดส์เป็นระยะที่คนไข้เริ่มมีอาการแต่อาการนั้นยังไม่มากถึงกับจะเรียกว่า เป็นโรคเอดส์เต็มขั้น อาการในช่วงนี้อาจเป็นไข้เรื้อรัง น้ำหนักลด หรือท้องเสียงเรื้อรัง โดยไม่ทราบสาเหตุ นอกจากนี้อาจมีเชื้อราในช่องปาก งูสวัด,เริมในช่องปาก หรืออวัยวะเพศผื่นคันตามแขนขา และลำตัวคล้ายคนแพ้น้ำลายยุง จะเห็นได้ว่าอาการที่เรียกว่าสัมพันธ์กับเอดส์นั้น ไม่จำเพาะสำหรับโรคเอดส์เสมอไป คนที่เป็นโรคอื่นๆ ก็อาจมีไข้ น้ำหนักลด ท้องเสีย เชื้อราในช่องปาก งูสวัด หรือเริมได้ดังนั้นจึงไม่ใช่ว่า ถ้ามีอาการเหล่านี้จะต้องเหมาว่าติดเชื้อเอดส์ไปทุกร้าย ถ้าสงสัยควรปรึกษา แพทย์และตรวจเลือดเอดส์พิสูจน์
                                              

ระยะที่ 3 : ระยะโรคเอดส์เต็มขั้น หรือที่ภาษาทางการเรียกว่าโรคเอดส์เป็นระยะที่ภูมิต้านทานของร่ายกายเสียไปมากแล้วผู้ป่วยจะมีอาการ ของการติดเชื้อจำพวก เชื้อฉกฉวยโอกาสบ่อย ๆ และเป็นมะเร็งบางชนิด เช่น แคโปซี่ ซาร์โคมา ( Kaposi's sarcoma ) และมะเร็งปากมดลูก การติดเชื้อฉกฉวยโอกาส หมายถึงการติดเชื้อที่ปกติมี ความรุนแรงต่ำ ไม่ก่อโรคในคนปกติแต่ถ้าคนนั้นมีภูมิต้านทานต่ำลง เช่นจากการเป็นมะเร็ง หรือจากการได้รับยาละทำให้เกิดวัณโรคที่ปอด ต่อมน้ำเหลือง ตับ หรือสมองได้ รองลงมาคือเชื้อพยาธิที่ชื่อว่านิวโมซิส-ตีส-คารินิไอ ซึ่งทำให้เกิด ปอดบวมขึ้นได้ ต่อมาเป็นเชื้อราที่ชื่อ คริปโตคอคคัสซึ่งทำให้เยื่อหุ้มสมองอักเสบ นอกจากนี้ยังมีเชื้อฉกฉวยโอกาสอีกหลายชนิด เช่น เชื้อพยาธิที่ทำให้ท้องเสียเรื้อรัง และเชื้อซัยโตเมก กะโลไวรัส ( CMV ) ที่จอตาทำให้ตาบอด หรือที่ลำไส้ทำให้ปวดท้อง ท้องเสีย และถ่ายเป็นเลือด เป็นต้นในภาคเหนือตอนบน มีเชื้อราพิเศษ ชนิดหนึ่งชื่อ เพนนิซิเลียว มาร์เนฟฟิโอ ชอบทำให้ติดเชื้อที่ผิวหนัง ต่อมน้ำเหลือง แคโปซี่ ซาร์โค มา เป็นมะเร็งของผนังเส้นเลือด ส่วนใหญ่จะพบตามเส้นเลือดที่ผิวหนัง มีลักษณะเป็นตุ่มนูนสีม่วงๆ แดงๆ บนผิวหนัง คล้ายจุดห้อเลือด หรือไฝ ไม่เจ็บไม่คันค่อยๆ ลาม ใหญ่ขึ้น ส่วนจะมีหลายตุ่ม บางครั้งอาจแตกเป็นแผล เลือดออกได้ บางครั้งแคโปซี่ซาร์โคมา อาจเกิดในช่องปากในเยื่อบุ ทางเดินอาหาร ซึ่งอาจทำให้มีเลือดออกมากๆ ได้ นอกจากนี้ ผู้ป่วยอาจเป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลืองหรือมะเร็งปากมดลูกได้ ดังนั้นผู้หญิงที่ติดเชื้อ เอดส ์จึงควรพบแพทย์เพื่อตรวจมะเร็งปากมดลูกทุก 6 เดือนนอกจากนี้ คนไข้โรคเอดส์เต็มขั้นอาจมีอาการทางจิตทางประสาทได้ด้วย โดยที่อาจมีอาการหลงลืมก่อนวัย เนื่องจากสมองฝ่อเหี่ยวหรือมีอาการของโรคจิตหรืออาการชักกระตุก ไม่รู้สึกตัวแขนขาชาหรือไม่มีแรงบางราย อาจมีอาการปวดร้าวคล้ายไฟช๊อตหรือปวดแสบปวดร้อน หรืออาจเป็นอัมพาตครึ่งท่อน ปัสสาวะ อุจจาระไม่ออก เป็นต้น ในแต่ละปีหลัง ติดเชื้อเอดส์ร้อยละ 5 - 6 ของผู้ที่ติดเชื้อจะก้าวเข้าสู่ระยะเอดส์เต็มขั้นส่วนใหญ่ของคนที่เป็นโรคเอดส์เต็มขั้นแล้วจะเสียชีวิตภายใน 2 - 4 ปี จากโรคติดเชื้อ ฉกฉวยโอกาสที่เป็นมากรักษาไม่ไหวหรือโรคติดเชื้อที่ยังไม่มียาที่จะรักษาอย่างได้ผลหรือเสียชีวิตจากมะเร็งที่เป็นมากๆ หรือค่อยๆ ซูบซีดหมดแรงไปในที่สุดพบว่ายาต้านไวรัสเอดส์ที่ใช้กันอยู่ในขณะนี้ ในประเทศตะวันตกสามารถยืดชีวิตคนไข้ออกไปได้ 10 - 20 ปี


ที่มา  http://arts.kmutt.ac.th/ssc210/Group%20Project/G244/G18/social14/social14.html

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ยินดีต้อนรับเข้าสุ่เว็บ เรื่องการป้องกันเอดส์และ เชื้อเอซไอวีและการใช้ถุงยางอนามัย
จัดทำโดย
1.นางสาว จิราพร เจริญสุข
2.นางสาว นารี โพธะศรี
3.นางสาว ดารินทร์ กั้วเฟื้อง
งานชิ้นนี้เป็นส่วนหนึงของโครงงานคอมพิวเตอร์